Page 110 - thaipaat_Stou_2563
P. 110

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                   Factors Affecting the Driving of Bioeconomy Policy into Implementation in Ubon
                                 Ratchathani Province: A Study of Cassava Cultivation

                                                                                12
                                        นางสาวพิชญา วิทูรกิจจา Pichaya Witoonkitja

                                                         บทคัดย่อ

                       การศึกษาชิ้นนี้มุ่งศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพสู่การปฏิบัติของใน


                                                                    ิ
                 ื้
               พนที่ 4 อาเภอของจังหวัดอบลราชธานี (อาเภอสว่างวีรวงศ์ พบูลมังสาหาร นาเยีย และวารินช าราบ) โดย
                                       ุ
               อาศัยการวิเคราะห์จากเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (เน้นที่ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และเกษตรกร
                   ื้
               ในพนที่) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า เนื้อหาสาระของนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ ตั้งแต่วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด
                                                                      ี
               แนวทางปฏิบัติ และหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก ยังไม่ชัดเจนเพยงพอ ส่งผลต่อแผนปฏิบัติงานที่เชื่อมโยง
               ระหว่างนโยบายของรัฐ นโยบายของกระทรวง และยุทธศาสตร์ของจังหวัด ไม่สอดคล้องและยังไม่มี
                                                                                         ั
               ประสิทธิภาพเท่าที่ควร อย่างไรก็ดี นโยบายดังกล่าวยังคงสามารถขับเคลื่อนต่อไปได้ อนเนื่องมาจากปัจจัย
               ด้านสภาพแวดล้อมของนโยบาย กล่าวคือ ความร่วมมือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องได้ช่วยกันผลักดันนโยบาย
                                                                                    ื้
               นอกจากนี้ จะพบว่านโยบายดังกล่าวยังมีความเชื่อมโยงกับโครงการเดิมในพนที่ ในท้ายที่สุด ผู้เขียน
               มีข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายคือ (1) ภาครัฐต้องก าหนดเนื้อหาสาระของนโยบายให้มีความชัดเจน

               (2) ภาครัฐต้องก าหนดหลักเกณฑ์และทิศทางของนโยบายเกี่ยวกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรให้เข้มข้น
               (3) ภาครัฐควรปรับเปลี่ยนทัศนคติของเกษตรกรเกี่ยวกับการท าเกษตรอนทรีย์ (4) ภาครัฐควรปรับบทบาท
                                                                            ิ
               การช่วยเหลือให้สอดคล้องกับศักยภาพของเกษตรกร (5) ภาครัฐควรมีการถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้ที่
               เกี่ยวข้อง (6) ภาครัฐควรเรียนรู้เกี่ยวกับระบบตลาดของมันส าปะหลังมากขึ้น
















               ค ำส ำคัญ: นโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ, เกษตรอินทรีย์, การน านโยบายไปปฏิบัติ
                                                        Abstract




               12  นิสิตระดับปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
               E-mail: pchya.w@gmail.com
                                                                                                     108
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115