Page 112 - thaipaat_Stou_2563
P. 112

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       หลายประเทศทั่วโลกต่างเผชิญกับสภาวะผันผวนทางเศรษฐกิจ ปัญหานี้ได้เชื่อมโยงกับการขาดแคลน
                                                                        ื่
               ทรัพยากรทางพลังงาน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพอแก้ปัญหาดังกล่าวจึงมีการน าแนวทาง
                                                                                             ั
               “เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)” มาใช้ในการก าหนดนโยบายรวมทั้งยุทธศาสตร์ในการพฒนาเศรษฐกิจ
               ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ   ( European  Commission,  2 0 1 2 )  โ ด ย แ น ว ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ชี ว ภ า พ  คื อ

                                                                                               ื
               การใช้เทคโนโลยีชีวภาพขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากวัสดุทางชีวภาพ ได้แก่ พช สัตว์ และ
                                                            ุ
               จุลินทรีย์ รวมถึงวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร โรงงานอตสาหกรรม ฟาร์มปศุสัตว์ และชุมชน กระทั่งพฒนาต่อ
                                                                                                   ั
               ยอดเป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีมูลค่าสูง เช่น พลาสติกที่ย่อยสลายได้ อาหารและยารักษาโรคเฉพาะบุคคล และ
               พลังงานไฮโดรเจน เป็นต้น จึงมีการคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจชีวภาพจะช่วยแก้ปัญหาส าคัญระดับโลกด้วยการ
               ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกบนฐานของการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
                       ส าหรับบริบทของประเทศไทยในแง่ของการส่งเสริมนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ พบว่า ทรัพยากรทาง
               ธรรมชาติจะยังมีอยู่จ านวนมาก แต่การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีทางการผลิตที่ยังไม่ก้าวหน้า ประกอบกับการ

               ก าหนดนโยบายรัฐที่ให้ความส าคัญต่อผู้บริหารมากกว่าบริบทเชิงพนที่ (Top - Down) จึงไม่สามารถน า
                                                                          ื้
               ทรัพยากรมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงส่งผลให้การผลักดันนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพเป็นไปด้วยความล่าช้า
               ประกอบกับรัฐบาลยังไม่มีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการการผลิตและใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
               โดยตรง ดังจะเห็นว่าในขณะนี้รัฐบาลก าลังด าเนินนโยบาย Thailand 4.0 โดยเร่งผลักดันให้มีการสนับสนุน
               การลงทุนจากภาคอตสาหกรรมมากชีวภาพมากขึ้น และบรรจุแนวทางเศรษฐกิจชีวภาพในร่างแผนยุทธศาสตร์
                                ุ
                                   ั
               ชาติ 20 ปี และแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 อกทั้ง รัฐบาลได้ก าหนดแนวทางการ
                                                                            ี
               ขับเคลื่อนผ่านแผนการด าเนินงานต่าง ๆ ได้แก่ 1) แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
               สิ่งแวดล้อม และ 2) โครงการสานพลังประชารัฐ ซึ่งมีแผนงาน (Roadmap) ส าหรับเศรษฐกิจชีวภาพ เพอ
                                                                                                        ื่
               ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (รัฐบาลไทย, ม.ป.ป.)
                       นอกจากนี้ การที่ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกสินค้าทางการเกษตรและอาหารส าคัญของโลก
                                                ิ่
                                                          ิ
               ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบขั้นต้นที่มีมูลค่าเพมไม่มาก (พจารณาตารางที่ 1) แต่กระนั้น ภาคการเกษตรไทยยังต้อง
               ประสบกับปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรโลกผันผวน รวมถึงสภาวะโลกร้อนที่ท าให้ผลผลิตลดลง ใน
               ขณะเดียวกันประเทศไทยก็มีการน าเข้าผลิตภัณฑ์สารเคมี วัสดุ และพลังงานรวมกันเป็นจ านวนมาก หาก
                                                           ุ
               ประเทศไทยต้องการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านอตสาหกรรมฐานชีวภาพ จ าเป็นจะต้องพัฒนาวัตถุดิบทาง
               การเกษตรให้มีมูลค่าสูง ด้วยการพฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของตนเอง แนวโน้มในอนาคตอาจเห็น
                                            ั
               ภาพการน าเทคโนโลยีเข้ามาเป็นกลไกในการการพัฒนานโยบายเศรษฐกิจชีวภาพมากขึ้น














                                  ตำรำงที่ 1: มูลค่ำกำรส่งออกสินค้ำเกษตร ปี 2558 – 2560

                                                                                                     110
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117