Page 113 - thaipaat_Stou_2563
P. 113
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
อัตรำกำร
เพิ่ม/ลด ขยำยตัว ปี
ปี 59-60
รำยกำร อันดับ อันดับ
ปี 59-60 (ร้อยละ) ในไทย โลก
2558 2559 2560 (ร้อยละ)
1. ยำงธรรมชำติ 193,938 167,182 216,054 29.23 -6.92 1 1
2. ข้ำวและผลิตภัณฑ์ 172,778 172,554 193,370 12.06 7.5 2 2
3. น้ ำตำลและ 98,560 95,395 97,392 2.09 0.85 5 2
ผลิตภัณฑ์
4. มันส ำปะหลังและ
ผลิตภัณฑ์ 115,738 101,593 93,061 -8.4 -0.002 7 3
ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส านักงาน
ปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
อย่างไรก็ตาม ในแง่การผลักดันนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ จะพบว่า อตสาหกรรมการผลิตมัน
ุ
ส าปะหลังไทยนับเป็นอตสาหกรรมที่มีแนวโน้มที่จะต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงในอนาคตได้ไม่ยาก
ุ
เนื่องจากเกษตรกรเริ่มขยายการเพาะปลูกมันส าปะหลังอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ประเทศไทยจะเป็นผู้ส่งออกมัน
ส าปะหลังรายใหญ่ของโลก แต่ในช่วงปี 2559 - 2560 ราคาหัวมันส าปะหลังสดของไทยมีแนวโน้มลดต่ าลง
มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2560 ราคาตกต่ าที่สุดในรอบ 7 ปี โดยราคาเฉลี่ยอยู่ที่
1.31 บาทต่อกิโลกรัม คู่แข่งส าคัญ เช่น เวียดนามและกัมพูชา มีการผลิตมันส าปะหลังเส้นที่มีคุณภาพ สะอาด
ตรงกับความต้องการของลูกค้ามากกว่าไทย ท าให้ความต้องการซื้อมันส าปะหลังเส้นจากไทยชะลอลง รวมทั้ง
ิ่
ิ
ั
ปัญหาผู้ส่งออกของไทยขายตัดราคากันเอง ดังนั้น การพฒนาการผลิตมันส าปะหลังอนทรีย์จะสามารถเพมขีด
ความสามารถการต่อรองทางการตลาดและจ าหน่ายได้ในราคาไม่ผันผวน (สุภัทร ธนบดีภัทร, 2561)
ั
ุ
ี
ื้
ิ
ในการพฒนาอตสาหกรรมมันส าปะหลังของไทย รัฐบาลได้พจารณาพนที่อสานตอนล่างว่ามีความ
พร้อมสูงเนื่องจากมีแหล่งวัตถุดิบขั้นต้นที่ส าคัญ (มันส าปะหลัง อ้อย ข้าว และยางพารา) รวมกันมากกว่าปีละ
ื้
ื้
ุ
4 ล้านตัน มีพนที่การเพาะปลูกมันส าปะหลังถึง 4,493,000 ไร่ โดยเฉพาะจังหวัดอบลราชธานี มีพนที่
ั
เพาะปลูก 445,649 ไร่ คิดเป็นพื้นที่ร้อยละ 10 ของภูมิภาค และภาคเอกชนมีศกยภาพในการลงทุนต่อยอด
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อาหารออร์แกนิก (ประชาชาติ, 2561) โดยรัฐบาลได้เร่งผลักดันให้จังหวัดอุบลราชธานี
ั
เป็นคลื่นลูกใหม่ทางเศรษฐกิจไทย ด าเนินการภายใต้ “โครงการพฒนาการส่งเสริมการเกษตรการปลูกมัน
ุ
ส าปะหลัง” หรือ “อบลโมเดล” เริ่มจากเกษตรกรในพนที่ 4 อ าเภอของจังหวัดอบลราชธานี ได้แก่ อาเภอนา
ื้
ุ
ิ
ื
เยีย อาเภอพบูลมังสาหาร อาเภอสว่างวีระวงศ์ และอาเภอวารินช าราบ โดยมีมันส าปะหลังเป็นพชน าร่อง
เนื่องจากในระยะ 3 - 4 ปีที่ผ่านมา เกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานีนิยมปลูกมันส าปะหลังมากขึ้น (อุบลไบโอ
ี
เอทานอลกรุ๊ป, 2560) เพราะได้รับการประกันราคาจากโรงงานและมตลาดรับซื้อแน่นอน เกษตรกรมีคุณภาพ
ชีวิตดีขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของรายได้และมีความปลอดภัยในสุขภาพ สามารถสร้างมูลค่าเพมทางเศรษฐกิจให้แก่
ิ่
จังหวัดและประเทศ
111