Page 114 - thaipaat_Stou_2563
P. 114

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                      ุ
                       การขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพผ่านโครงการอบลโมเดล เริ่มต้นจากภาคเอกชนคือ กลุ่ม
                                                                          ั
               บริษัทไบโอเอทานอลโดยอาศัยความร่วมมือกับภาครัฐ คือ กรมพฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร และ
               กรมส่งเสริมการเกษตร และกลุ่มเกษตรในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ด าเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2557
                                    ื่
               นับเป็นการบูรณาการเพอส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรมการปลูกมันส าปะหลัง โดยทุกภาคส่วนได้ร่วมกัน
                               ั
                                                                                       ื
               คิดค้นวิจัยพฒนาพนธุ์มันส าปะหลัง และส่งเสริมถ่ายทอดความรู้ เช่น ปรับปรุงพนธุ์พช ปรังปรุงคุณภาพดิน
                                                                                   ั
                          ั
                                        ั
               ปรับปรุงช่วงเวลาเพาะปลูก พฒนาเครื่องจักรในการผลิต รวมถึงส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าใจเรื่องต้นทุนการรับ
               ซื้อและการแปรรูป (มูลนิธิสถาบันพลังงานทางเลือกแห่งประเทศไทย, 2559) โดยใช้หลักคิด 3 ด้านคือ “ดิน
               ดี รายได้ดี สุขภาพดี” ดินดี คือ การไม่ใช้สารเคมีจะส่งผลให้ดินกลับมาอดมสมบูรณ์ รายได้ดี คือ สร้าง
                                                                               ุ
               มูลค่าเพมให้ทั้งผู้ผลิตและตลาด เนื่องจากเกษตรกรได้รับการประกันราคา ท าให้มีรายได้แน่นอนและเพมขึ้น
                      ิ่
                                                                                                     ิ่
               จากการปลูกแบบทั่วไป สุขภาพดี คือ ผู้ผลิตและผู้บริโภคมั่นใจในกระบวนการผลิตที่ปราศจากสารเคมี
               ปนเปื้อนในอาหาร อีกทั้งเกษตรกรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีก็ยิ่งส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย
                       เมื่อเปรียบเทียบด้านการตลาดระหว่างการผลิตมันส าปะหลังในระบบดั้งเดิมและระบบอนทรีย์พบว่า
                                                                                               ิ
               ในระบบอนทรีย์เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยทั้งหมด 13,500 บาทต่อไร่ รายได้สุทธิเท่ากับ 2,575 บาทต่อไร่ มี
                        ิ
               ก าไรอยู่ที่ 1,565 บาทต่อไร่ หรือ 0.35 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิต 11,935 บาทต่อไร่ คิดเป็นต้นทุน
               2.65 บาทต่อกิโลกรัม ได้ก าไร 0.35 บาทต่อกิโลกรัม (ราคาขาย 3 บาท ที่ปริมาณแป้งร้อยละ 25) ส่วนการ
               ผลิตในระบบเคมี เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยทั้งหมด 9,000 บาทต่อไร่ รายได้สุทธิเท่ากับ 1,600 บาทต่อไร่ มี
               ก าไรอยู่ที่ 590 บาทต่อไร่ หรือ 0.13 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิต 8,410 บาทต่อไร่ คิดเป็น 1.87 บาท

               ต่อกิโลกรัม ได้ก าไรเพยง 0.13 บาทต่อกิโลกรัม ดังนั้น เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วต้นทุนของการปลูกมัน
                                   ี
               ส าปะหลังอนทรีย์จะสูงการการปลูกมันส าปะหลังทั่วไป แต่ผลผลิตมันส าปะหลังอนทรีย์ได้รับการยอมรับใน
                                                                                    ิ
                         ิ
               มาตรฐานการผลิตมากกว่า จึงมีราคารับซื้อสูงกว่าและโอกาสทางการตลาดจึงสูงกว่า โดยเฉพาะตลาดในตาง
               ประเทศ เช่น ยุโรป และสหรัฐอเมริกา (โสภิตา สมคิด และคณะ, 2561)
                       เมื่อเกษตรกรท าตามกระบวนการที่ก าหนดไว้อย่างถูกต้อง กระทั่งเข้าสู่ขั้นตอนสุดท้ายคือ การตรวจ
                                                                                      14
                                                                                                        15
                                                                    13
               รับรองมาตรฐานต่าง ๆ ได้แก่ มาตรฐานของ USDA Organic  Organic Thailand  หรือ EU Organic
               นั่นหมายถึงเกษตรกรสามารถด าเนินการผลิตได้ตามเป้าหมาย ผลผลิตอาจสูงถึง 4.5 ตันต่อไร่ ซึ่งสูงกว่า
               ค่าเฉลี่ยของประเทศคือ 3.5 ตันต่อไร่ (บางรายได้ผลผลิตสูงถึง 7.63 ตันต่อไร่ และอาจมีปริมาณแป้งสูงถึง
               ร้อยละ 27 -31) (ประชาชาติ, 2561) ในการตรวจรับรองมาตรฐานนี้จะมีต้นทุนเพมขึ้นอก 3.20 บาทต่อ
                                                                                      ิ่
                                                                                            ี
               กิโลกรัม บริษัทเอกชนจะเป็นผู้แบกรับต้นทุน และท าให้บริษัทเอกชนขาดทุนในส่วนการผลิตแป้งมันส าปะหลัง
               ในช่วงระยะแรก แต่ในระยะยาวบริษัทก็คาดหวังให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมดีขึ้น และมี
                                            ื่
               แนวโน้มที่จะพฒนาเทคโนโลยีเพอปรับปรุงการผลิตให้ต้นทุนลดลงกว่าเดิม รวมถึงคาดหวังว่ารัฐบาลจะมี
                            ั
               นโยบายที่ชัดเจนมากขึ้นและเข้ามาสนับสนุน แบ่งเบาภาระเรื่องค่าใช้จ่ายของผู้ประกอบการ เพอให้เกิดความ
                                                                                              ื่
               ยั่งยืนในด้านการส่งออกของตลาดมันส าปะหลัง (โสภิตา สมคิด และคณะ, 2561)
                       จากที่กล่าวมา บทความนี้ต้องการจะศึกษาว่า “ปัจจัยใดที่มีผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ
               ชีวภาพสู่การปฏิบัติของจังหวัดอุบลราชธานี ในกรณีการปลูกมันส าปะหลัง” ผู้วิจัยเห็นว่าผลการศึกษาดังกล่าว
               นี้จะช่วยเป็นแนวทางให้หน่วยงานที่มีส่วนในการขับเคลื่อนนโยบายมองภาพของการน านโยบายไปปฏิบัติได้



               13  USDA Organic เป็นตรารับรองอาหารและผลิตภัณฑ์ออร์แกนิคของสหรัฐอเมริกา โดยกระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ (United States
               Department of Agriculture: USDA) ได้ก าหนดมาตรฐานในการปิดฉลากสินค้าออร์แกนิคจากที่ต่าง ๆ ที่น าเข้าในประเทศ
               14  Organic Thailand เป็นเครื่องหมายรับรองปัจจัยการผลิต แหล่งการผลิต หรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ ที่ได้รับการรับรองจากหน่วยตรวจ
               รับรองเฉพาะหน่วยงาน (Certification Body: CB) ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว กรมปศุสัตว์ และกรมประมง
               15  EU Organic (European Union Organic) คือ ตราเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป ผู้ผลิตไทยสามารถยื่นขอกับ ส านักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
               (มกท.) เพราะมาตรฐาน มทก. ผ่านการประเมินแล้วว่าเท่าเทียมกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของสหภาพยุโรป
                                                                                                     112
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119