Page 172 - thaipaat_Stou_2563
P. 172

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ดังนั้น ประชาชนจึงจ าเป็นต้องมีความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญของระบอบการปกครองแบบ
               ประชาธิปไตยเสียก่อนจะน าระบอบประชาธิปไตยมาใช้ปกครอง จากสองแนวคิดข้างต้นแสดงให้เห็นว่าระบอบ

               ประชาธิปไตยจ าเป็นต้องอาศัยการยอมรับและการสนับสนุนจากประชาชน และพร้อมปกป้องรักษาหลักการ
               ท างานของประชาธิปไตย
                       จากหลักการเชิงทฤษฎีที่เป็นแนวทางการพฒนาตามหลักสากลข้างต้น ส่งผลต่อการสร้างความเข้าใจ
                                                          ั

               และช่วงชิงอานาจทางการเมืองได้มากน้อยแค่ไหนในสังคม ปิยบุตร แสงกนกกุล ได้อธิบายผ่านงานเขียนด้าน
               กฎหมายรัฐธรรมนูญของ จูเซปเป้ เด แวร์กอตตินี่ ผ่านกรอบการเปลี่ยนผ่านรัฐธรรมนูญสู่กรอบการพฒนา
                                                                                                     ั
               ประชาธิปไตย ซึ่งอธิบายว่าในบางครั้งตัวของรัฐธรรมนูญไม่จ าเป็นต้องเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบการปกครอง
                                                                                         50
               แบบประชาธิปไตยเสมอ เพราะบางครั้งรัฐธรรมนูญก็เปลี่ยนตัวเองเข้าสู่ระบอบเผด็จการได้   ค าถามที่ตามมา

               ในประเด็นที่ผู้เขียนน าเสนอ คือ ระบอบประชาธิปไตยผ่านพนที่การช่วงชิงอานาจทางการเมือง ค าถามนี้ใน
                                                                  ื้
                                                                                       ี
               สังคมการเมืองไทยระบอบประชาธิปไตยสร้างความเข้าใจให้แก่สังคมไทยได้มากน้อยเพยงใด ประชาธิปไตยที่
               เข้าใจกันในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยเนื้อเดียวกับสากลหรืออารยะประเทศหรือไม่ หากพนิจ
                                                                                                       ิ
               วิเคราะห์หลังจากการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2557 รัฐไทยได้มีการเปลี่ยนผ่านรัฐธรรมนูญ
               จากปี พ.ศ.2550 มาเป็นรัฐธรรมนูญปี พ.ศ.2560 มีความเป็นประชาธิปไตยอย่างไร หากจะกล่าวถึง

               ความชอบธรรมของระบอบประชาธิปไตยที่ คสช. ประดิษฐ์ขึ้น ค าว่าประชาธิปไตยในยุคนี้ผู้เขียนมองว่าเป็น
               ความส าเร็จของคณะผู้จัดท าในการสื่อสารให้กับประชาชนเข้าใจประชาธิปไตยตามแบบที่ คสช. อยากให้
               ประชาชนภายในรัฐเข้าใจแบบนั้น กล่าวคือตามการอธิบายแนวคิดว่าด้วย “ชาติ (Nation)” ในการสถาปนา


                                          ื่
               รัฐธรรมนูญที่ช่วงชิงอานาจรัฐเพอสร้างการรับรู้ผ่านการออกแบบรัฐธรรมนูญในการปกครองรัฐหรือประเทศ
               ของ เอ็มมานูเอล โซเซฟ ซีแยส ที่กล่าวถึงอ านาจสถาปนารัฐธรรมนูญ (Pouvoir Constituant)  โดยเริ่มจาก
                                                                                             51
                                                                                   ื่
                                                                                              ้
               คสช. สร้างความชอบธรรมให้กับตนเองในการเข้ายุติความขัดแย้งทางการเมืองเพอท าให้ไทยพนจากการนอง
               เลือด อ้างเรื่องระบอบทักษิณ รวมถึงปราบปรามการคอรัปชั่น ระบบการเมืองเดิมของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
               ถูกล้มล้างโดยการท ารัฐประหาร ต่อมาการเปลี่ยนผ่านที่เกิดขึ้นเมื่อ คสช. กลายเป็นองคอธิปไตยแบบเบ็ดเสร็จ
                                                                                       ์
               องค์อธิปไตยดังกล่าวหาหนทางในการสร้างรัฐธรรมนูญขึ้นมาเพอใช้เป็นหลักประกันโดยมีความเป็นกฎหมาย
                                                                    ื่
               สูงสุดของรัฐเพราะของเดิมถูกฉีกไปแล้ว ขั้นตอนนี้ตามหลักการของ เอ็มมานูเอล โซเซฟ ซีแยส คือ คสช. ก าลัง

               ท าตัวเป็นผู้ใช้อานาจสถาปนารัฐธรรมนูญ (Pouvoir Constituant) ผ่านการคัดเลือกของพวกเดียวกัน คือ

               คณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ โดยคณะกรรมการได้ทรงอานาจรัฐที่ได้จากองค์อธิปไตยในขณะนั้นคือ คสช.
               จัดท ารัฐธรรมนูญ ท้ายสุดเมื่อจัดท ารัฐธรรมนูญส าเร็จก็ช่วงชิงความชอบธรรมอ านาจทางการเมืองโดยให้มีการ
               ลงมติรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2560 โดยสวมรอยว่าเป็นประชาธิปไตย ภายหลังจากการที่ประชาชน
               เห็นชอบรับรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2560 ส่งผลให้สถาบันการเมืองต่างมีผลผูกพนตามรัฐธรรมนูญอางอง
                                                                                                     ้
                                                                                                        ิ
                                                                                     ั


               อานาจจากรัฐธรรมนูญได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ทั้งหมดนี้คือการช่วงชิงอานาจทางการเมืองของ คสช. ซึ่งท า
               หน้าที่เป็นอานาจสถาปนารัฐธรรมนูญ (Pouvoir Constituant) ท้ายสุดเรื่องของการพฒนาประชาธิปไตยที่
                                                                                        ั

               เป็นผลพวงจากรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2560 จึงมีเพดานที่ไม่สามารถยึดติดกับประชาชน เพราะประชาชน

               ไม่ได้เป็นผู้มีอานาจสถาปนารัฐธรรมนูญ (Pouvoir Constituant) ผลของรัฐธรรมนูญจึงได้ชื่อว่าผู้ร่างเป็น
               อย่างไรก็ได้รัฐธรรมนูญอย่างนั้น
                                         52


               50  ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). รัฐธรรมนูญ ประวัติศำสตร์ข้อคิด อ ำนำจสถำปนำ และผลกำรเปลี่ยนผ่ำน. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, หน้า 158.
               51  ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). รัฐธรรมนูญ ประวัติศำสตร์ข้อคิด อ ำนำจสถำปนำ และผลกำรเปลี่ยนผ่ำน. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, หน้า 10.
               52  ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). รัฐธรรมนูญ ประวัติศาสตร์ข้อคิด อ านาจสถาปนา และผลการเปลี่ยนผ่าน. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, หน้า 163.
                                                                                                     170
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177