Page 209 - thaipaat_Stou_2563
P. 209

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ของต ารวจ และกรุงเทพมหานคร ท าให้มีการบูรณาการความร่วมมือเกิดเป็นเครือข่ายภาคในการรักษาความ
               ปลอดภัย
                          2.2 กำรพัฒนำแนวทำงปฏิบัติของพนักงำนสอบสวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรคุ้มครอง
               สิทธิ เสรีภำพของผู้ต้องขัง

                                             ั
                          ควรมีการสร้างและพฒนาแนวทางการด าเนินการสอบสวนให้เกิดความเท่าเทียม เที่ยงธรรม
               โปร่งใส ตรวจสอบได้ ถึงการอ านวยความยุติธรรมให้ทั้งผู้เสียหาย และผู้ต้องหา

               อภิปรำยผลกำรวิจัย (Discussion)
                                           ุ
                          1. สภำพปัญหำ อปสรรค ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนสอบสวนในกำรคุ้มครองสิทธิ
               เสรีภำพ ของผู้ต้องขัง
                          พบว่าปัญหาอุปสรรค ได้แก่ 1) พนักงานสอบสวนจะสามารถจับกุมผู้ต้องหาได้ ต้องยื่นขออนุมัติ

                       ิ
               ต่อศาลพจารณาออกหมายจับก่อน เป็นเหตุให้ผู้ต้องหาหลบหนีไปได้ (2) การให้การสอบสวนปากค าผู้ต้องหา
               ด าเนินการต่อหน้าทนายความหรือบุคคลอน อาจท าให้คดีความถูกบิดเบือนได้ (3) การให้สิทธิผู้ต้องหาไม่ถูก
                                                   ื่
               ควบคุมตัวเกินความจ าเป็น อาจมีผลต่อการตัดสินใจในการควบคุมตัวของพนักงานสอบสวนและอาจท าให้
               ผู้ต้องหาหลบหนีได้ (4) การจ ากัดเวลาการควบคุมตัวท าให้พนักงานสอบสวนมีเวลาจ ากัดในการแสวงหา
               พยานหลักฐาน (5) การปฏิเสธค าให้การต่อหน้าพนักงานสอบสวน แต่ผู้ต้องหาจะไปให้การในชั้นศาลเป็น
               อุปสรรคต่อโอกาสรวบรวมพยานหลักฐานในชั้นต้น (6) การขอยื่นประกันตัวชั่วคราวหากศาลอนุญาต ให้ปล่อย

                                                                                              ุ
               ตัวตามค าร้อง ท าให้พยานบุคคล ไม่กล้า ให้การเพราะเกรงความปลอดภัยของตัวเอง ปัญหาอปสรรคเหล่านี้
                                                                                    ื้
               ซึ่งตามหลักสิทธิมนุษยชนนั้นถือได้ว่า เป็นการยืนยันและให้การรับรองถึงสิทธิขั้นพนฐานของความเป็นมนุษย์
                                               ั
               ในศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษยชาติ อนเป็นสิทธิตามธรรมชาติที่อยู่แต่เดิมของมนุษย์ อนปรากฏอยู่ใน ข้อ 1
                                                                                        ั
               ถึงข้อ 21 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
                           ส่วนคดีความที่มีลักษณะเฉพาะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้านเข้ารับ
                 ั
               ฟงการสอบสวน สร้างปัญหาการประสานงานของความร่วมมือและกระบวนการสอบสวน ปัญหาอปสรรคนี้
                                                                                                  ุ
               สอดคล้องกับสิทธิของผู้ต้องหาตามหลักมนุษยธรรมสากล เรื่องสิทธิที่จะต่อสู้คดีด้วยตนเองหรือผ่านผู้ช่วยเหลือ
               ตามกฎหมาย หากบุคคลนั้นไม่มีผู้ช่วยเหลือทางกฎหมาย ในกรณีใด ๆ เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม บุคคล

               นั้นมีสิทธิที่จะมีผู้ช่วยเหลือทางกฎหมาย ซึ่งมีการแต่งตั้งโดยปราศจากค่าตอบแทน กรณีบุคคลนั้นไม่สามารถ
               รับภาระในการจ่ายค่าตอบแทน
                          2. ผลกระทบจำก กำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนสอบสวนด้ำนกำรคุ้มครองสิทธิ เสรีภำพของ
               ผู้ต้องขัง
                          พบทั้งผลกระทบเชิงบวก ที่ส่งผลให้พนักงานสอบสวนต้องปฏิบัติภารกิจด้วยความรอบคอบ
               ระมัดระวังทุกขั้นตอนของการสอบสวน และการเพมประสิทธิภาพให้กับพนักงานสอบสวน ซึ่งสอดคล้องกับ
                                                          ิ่
               เจตนารมณ์ของหลักในการด าเนินคดีอาญา ประกอบด้วยหลักส าคัญสองประการ คือ ประการแรกต้องมี
               กระบวนการค้นหาความจริงที่มีประสิทธิภาพ เพื่อจะท าให้สามารถค้นหาตัวผู้กระท าความผิดและน ามาลงโทษ
               ได้อย่างถูกต้องแท้จริง และในประการที่สอง ต้องเป็นกระบวนการที่ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้กล่าวหา หรือ
               ประชาชนทั่วไปมิให้เดือดร้อนกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน (วุฒิพงษ์ เย็นจิตต์, 2542, น.6)
                          ส่วนผลกระทบเชิงลบ ในเรื่องความล่าช้า ความเครียดของพนักงานสอบสวนและขวัญก าลังใจ
               ของพนักงานสอบสวนนั้นจะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการด าเนินงานด้านการบริการแก่ประชาชนได้
                          3. แนวทำงในกำรพัฒนำประสิทธิภำพกำรปฏิบัติหน้ำที่สอบสวนคดีอำญำของพนักงำน

               สอบสวนด้ำนกำรคุ้มครองสิทธิ เสรีภำพของผู้ต้องขัง



                                                                                                     207
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214