Page 208 - thaipaat_Stou_2563
P. 208
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
1.2 ผลกระทบจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนสอบสวนด้ำนกำรคุ้มครองสิทธิ เสรีภำพ
ของผู้ต้องขัง
(1) ผลกระทบเชิงบวก คือ การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาตามบทบัญญัติ
ุ
รัฐธรรมนูญ พทธศักราช 2560 ส่งผลให้พนักงานสอบสวนต้องปฏิบัติภารกิจด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง
ทุกขั้นตอนของการสอบสวน โดยเฉพาะการรวบรวมพยานหลักฐานข้อเท็จจริง พนักงานสอบสวนต้องมีความรู้
แม่นย าในข้อบังคับของกฎหมายที่ก าหนด กระบวนการบูรณาการระหว่างหน่วยงานและบุคคลภายนอกจะมี
ื่
ประสิทธิภาพพนักงานสอบสวนต้องมีทักษะในการสื่อความเข้าใจเพอให้เกิดความร่วมมือ ด้วยความเต็มใจ
หากพนักงานสอบสวนสามารถปฏิบัติตามข้อกฎหมาย ที่ก าหนดย่อมส่งผลต่อคุณภาพของคดีความที่ตน
ิ
รับผิดชอบ เป็นหลักประกันพจารณาคดีในชั้นศาลอันอาจน ามาซึ่งความยุติธรรมแก่ประชาชน
(2) ผลกระทบเชิงลบ ได้แก่ ส่งผลต่อเป้าหมายของเวลาคือเกิดความล่าช้าของรูปคดี
ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติภารกิจของพนักงานสอบสวน และส่งผลต่อขวัญก าลังใจของพนักงาน
สอบสวน โดยเฉพาะกรณีที่การอานวยการของผู้บังคับบัญชาไม่สามารถตรวจสอบติดตามผลได้ทัน ท าให้
พนักงานสอบสวนต้องแก้ปัญหาบรรเทาปัญหาด้วยตนเอง
2. แนวทำงในกำรพัฒนำประสิทธิภำพกำรปฏิบัติหน้ำที่สอบสวนคดีอำญำของพนักงำน
สอบสวนด้ำนกำรคุ้มครองสิทธิ เสรีภำพของผู้ต้องขัง
2.1 แนวนโยบำยและกำรบริหำรเพื่อพัฒนำประสิทธิภำพพนักงำนสอบสวน ได้แก ่
(1) ด้านงบประมาณ ส านักงานต ารวจแห่งชาติควรก าหนดวงเงินงบประมาณประจ าปีให้
สมดุลกับคดีความอาชญากรรมที่เกิดขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนไปปัจจุบันในสถานีต ารวจบางแห่ง
ื่
ได้รับเงินบริจาคจากชุมชนเพอใช้จ่ายจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่สถานีต ารวจขาดแคลน ท าให้สภาพแวดล้อมของ
สถานีดีขึ้น พนักงานสอบสวนแทบทุกคนต้องเสียสละเงินเพื่อใช้จ่ายในการสืบสวนสอบสวนอย่างเป็นประจ า
(2) ด้านบุคลากร ส านักงานต ารวจแห่งชาติควรวางแนวนโยบายพัฒนา พนักงานสอบสวน
อย่างต่อเนื่องจริงจัง โดยมุ่งสร้างหลักสูตรฝึกอบรมก่อนประจ าการ (Pre-service) ระหว่างประจ าการ
(In-service) ให้มีเนื้อหาของหลักสูตรเน้นหนัก การเพิ่มพูนความรู้ที่จ าเป็น การพัฒนาเจตนคติและค่านิยมของ
พนักงานต ารวจ และพฒนาทักษะต่างๆ ที่จ าเป็นในการปฏิบัติภารกิจ การประเมินความต้องการ จ าเป็นใน
ั
การปฏิบัติภารกิจ การประเมินความต้องการจ าเป็น (Training Need Assessment) ในช่วงเวลาที่เหมาะสม
ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
(3) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิจัยพบว่า ควรด าเนินการดังนี้
ื่
- ก าหนดแนวนโยบายเพอพฒนาศักยภาพของสถานีต ารวจ เพอยกระดับคุณภาพการ
ื่
ั
บริหารจัดการสอบสวนให้บรรลุหลักธรรมาภิบาล โดยมีการด าเนินการในการให้เกิดพระราชบัญญัติการ
สอบสวนคดีอาญา แบ่งสายงานการสอบสวน ออกจากการบริหารจัดการของงานสถานีต ารวจ ให้มีโอกาสใน
การที่จะมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และมีอสระในการด าเนินการต่าง ๆ ในทางคดีมากขึ้นไม่ต้องอยู่
ิ
ภายใต้การควบคุมสั่งการของผู้ก ากับการสถานีต ารวจต่าง ๆ ที่ตนเองสังกัด จัดให้มีระดับผู้ก ากับการสอบสวน
ขึ้นมาโดยเฉพาะที่มีความรู้มีความเชี่ยวชาญในงานสอบสวน สามารถที่จะอ านวยความยุติธรรมได้เพิ่มขึ้น
- เสริมสร้างขวัญก าลังใจหรือน้ าใจการท างาน (Morale) โดยสร้างระบบคุณธรรม (Merit
system) ให้เกิดขึ้นในสถานีต ารวจ ผู้บริหารระดับสูงและระดับล่างต้องปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างแก่ลูกน้อง
- เสริมสร้างบรรยากาศองค์การให้มีความอบอนเพอประโยชน์ในการท างานเป็นทีม
ื่
ุ่
(Team work) จัดกิจกรรมสร้างสรรค์มนุษย์สัมพันธ์และภาระผู้น าให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(4) ด้านอุปกรณ์สนับสนุนหรือเทคโนโลยี ส านักงานต ารวจแห่งชาติได้จัดสรรงบประมาณ
ั
ในการพฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ในการติดตามจับกุม ตัวผู้กระท าความผิดได้รวดเร็วขึ้น มีการ
ประสานงานกับหน่วยงานภาคเอกชนในการน ากล้องวงจรปิดตามสถานที่ต่าง ๆ มาเชื่อมโยงกับกล้องวงจรปิด
206