Page 204 - thaipaat_Stou_2563
P. 204

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                      ุ
               เข้าใจข้อมูลในเชิงลึกและรอบด้านเกี่ยวกับสภาพปัญหา และอปสรรคที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ของ
                                ื่
                                                                                                 ั
               พนักงานสอบสวนเพอให้สอดรับกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ โดยมุ่งเน้นที่จะค้นหาแนวทางที่จะพฒนาหรือ
               ปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดโดยมุ่งในด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรี
               ของผู้ต้องหา เพอส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ต ารวจสามารถท าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายได้สอดรับกับบทบัญญัติ
                             ื่
                           ุ
               รัฐธรรมนูญ พทธศักราช 2560 อย่างมีประสิทธิภาพ อนจะน ามาซึ่งความสงบเรียบร้อยภายในประเทศและ
                                                              ั
               เกิดความชอบธรรมกับประชาชนที่อยู่ภายใต้กฎหมายอย่างแท้จริง
               วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
                          1. เพอศึกษาปัญหาอปสรรค และผลกระทบจากการปฏิบัติหน้าที่สอบสวนคดีอาญาของ
                                ื่
                                              ุ
               พนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560
                                ื่
                          2. เพอค้นหาแนวทางในการพฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้าที่สอบสวนคดีอาญาของ
                                                      ั
               พนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา เพอให้สอดรับกับแนวทางตามบทบัญญัติ
                                                                         ื่
               รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560
               กำรทบทวนวรรณกรรมและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                          การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มุ่งให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาอปสรรค และผลกระทบจากการ
                                                                              ุ
               ปฏิบัติหน้าที่สอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา ตาม
                                    ุ
               บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พทธศักราช 2560 รวมไปถึงการค้นหาแนวทางในการพฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติ
                                                                                  ั
                                                                                             ื่
               หน้าที่สอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา เพอให้สอดรับกับ
               แนวทางตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้เพอให้มีทิศทางในการแสวงหาข้อค้นพบและ
                                                                      ื่
               ประเด็นในการตั้งข้อสงสัยที่ครอบคลุมปัญหาวิจัยที่ต้องการศึกษาอย่างครบถ้วน ผู้วิจัยได้ด าเนินการศึกษา
               เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยมีสาระส าคัญตามล าดับหัวข้อต่อไปนี้ (1) กฎหมายรัฐธรรมนูญ
                 ุ
               พทธศักราช 2560 ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิและเสรีภาพ (2) แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน (3) สิทธิของผู้ต้องหา
               ตามกฎหมาย (4) แนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบและการจัดการปัญหา (5) แนวคิดเกี่ยวกับต ารวจ บทบาทหน้าที่
               และการแบ่งส่วนราชการ (6) ความหมายและอานาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวน (7) แนวความคิดเกี่ยวกับ

               ประสิทธิภาพ (8) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (9) กรอบแนวคิดการวิจัย
                          สิทธิมนุษยชน (Human Rights) หมายถึง สิทธิของความเป็นมนุษย์ ภายหลังที่ได้มีการก่อตั้ง

               องค์การสหประชาชาติแล้ว ค าว่า สิทธิมนุษยชน จึงได้ถูกน ามาใช้อย่างกว้างขวางทั้งในระดับภูมิภาคและใน
               ระดับนานาประเทศ ในกฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวถึงสิทธิมนุษยชนไว้หลายแห่ง เช่น ในอารัมภบทได้
               กล่าวถึงความมุ่งหมายของสหประชาชาติไว้ว่า “เพอเป็นการยืนยันและให้การรับรองถึงสิทธิขั้นพนฐานของ
                                                          ื่
                                                                                                 ื้
               ความเป็นมนุษย์ ในศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษยชาติ”
                                                                ิ
                          สิทธิของผู้ต้องหาตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่
                                                                              ิ
               ของพนักงานสอบสวน มีดังนี้ (พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา พุทธศักราช
               2547) สิทธิเบื้องต้นของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหา มาตรา 7/1 ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขัง มีสิทธิ
               แจ้งหรือขอให้เจ้าพนักงานแจ้งให้ญาติหรือผู้ซึ่งผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาไว้วางใจทราบถึงการถูกจับกุม และสถานที่
               ที่ถูกควบคุมในโอกาสแรก และให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหามีสิทธิดังต่อไปนี้ด้วย (1) พบและปรึกษาผู้ซึ่งจะเป็น
                                                                                 ั
               ทนายความเป็นการเฉพาะตัว (2) ให้ทนายความหรือผู้ซึ่งตนไว้วางใจเข้าฟงการสอบปากค าตนได้ในชั้น
               สอบสวน (3) ได้รับการเยี่ยมหรือติดต่อกับญาติตามสมควร (4) ได้รับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกิดการ
               เจ็บป่วย ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจซึ่งรับมอบตัวผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหามีหน้าที่แจ้งให้ผู้ถูกจับหรือ
               ผู้ต้องหานั้นทราบในโอกาสแรกถึงสิทธิตามวรรคหนึ่ง หน้าที่และความรับผิดชอบของต ารวจในสังคมนั้น มี

               ขอบเขตกว้างขวางจนมีผู้กล่าวว่าต ารวจมีหน้าที่มากมายครอบคลุมไปทั่วแทบทุกสิ่งทุกอย่างในสังคม อย่างไรก็
               ดีตามความเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าหน้าที่หลักของต ารวจ คือ หน้าที่บังคับใช้กฎหมายและรักษาความปลอดภัย

                                                                                                     202
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209