Page 210 - thaipaat_Stou_2563
P. 210
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ั
ื่
ในส่วนของแนวนโยบายและการบริหารเพอพฒนาประสิทธิภาพพนักงานสอบสวน ทั้งด้าน
งบประมาณ บุคลากร การบริหารจัดการ และอุปกรณ์สนับสนุนหรือเทคโนโลยี สอดคล้องกับนโยบาย 4 M ที่
เน้นในการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพราะในหลักการบริหารองค์การต่าง ๆ นั้น ทรัพยากรมนุษย์นั้นถือว่า เป็น
ั
ทรัพยากรที่มีความส าคัญอย่างยิ่งขององค์การ ส่วน งบประมาณ การบริหารจัดการ และอุปกรณ์สนับสนุนหรือ
เทคโนโลยีนั้น เป็นทรัพยากรที่มีความส าคัญในล าดับน้อยลงมา
ั
ส่วนการพฒนาแนวทางปฏิบัติของพนักงานสอบสวนเพอเพมประสิทธิภาพในการคุ้มครอง สิทธิ
ื่
ิ่
เสรีภาพของผู้ต้องขัง เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายที่เน้นมุ่งคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา ซึ่งต้องยึดถือปฏิบัติตามหลักสากล หากประเทศใด ไม่มีการคุ้มครองสิทธิดังกล่าว อาจท าให้
ประเทศต่าง ๆ ที่ยึดถือหลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนประณาม และน าไปสู่การกดดันในรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น การคว่ าบาตรทางเศรษฐกิจ การไม่ให้ความร่วมมือทางการเมือง เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ (Recommendations)
1. ข้อเสนอแนะเพื่อน ำผลกำรวิจัยไปใช้
1.1 ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ควรสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการสอบสวนคดีความ
ระหว่างทีมงานของพนักงานสอบสวนกับผู้น าชุมชน
1.2 ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ควรส ารวจสภาพปัญหาของการสอบสวนคดีความของสถานี
และจัดล าดับความส าคัญ (priority) ของปัญหาเพื่อการแก้ไขให้ส าเร็จ
ื่
1.3 ผู้บังคับบัญชา ควรใช้ระบบการนิเทศเพอแนะน าช่วยพนักงานสอบสวนในการปฏิบัติ
ภารกิจให้มีประสิทธิภาพ
1.4 ให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ควรจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ ให้เพียงพอส าหรับการปฏิบัติงาน
1.5 เจ้าหน้าที่ต ารวจควรจะต้องยึดบทบัญญัติของกฎหมายเป็นหลัก ใช้ความสุภาพ ละมุน
ละม่อมในการจับกุม จะใช้อ านาจอย่างจริงจังก็ต่อเมื่อจ าเป็น
1.6 เจ้าหน้าที่ต ารวจควรใช้เครื่องพนธนาการเท่าที่จ าเป็นเพอป้องกันมิให้ผู้ถูกกล่าวหา
ั
ื่
ิ
ุ
หลบหนี ซึ่งหากจ าเป็นที่จะต้องใช้ให้พจารณาถึงฐานความผิดว่าเป็นความผิดอกฉกรรจ์หรือเล็กน้อย หากเป็น
ความผิดอกฉกรรจ์หรือไม่แน่ใจว่าจะหลบหนีก็ควรใช้กุญแจมือ ให้พจารณาถึงตัวบุคคล หากเป็นบุคคลที่ควร
ุ
ิ
ให้เกียรติ เช่น พระภิกษุ สามเณร นักพรต ทหารสวมเครื่องแบบ หญิงชรา คนพการและคนป่วยที่ไม่สามารถ
ิ
หลบหนีได้ ถ้าไม่ได้กระท าผิดอุกฉกรรจ์ หรือจะหลบหนีก็ไม่ควรใส่กุญแจมือ
2. ข้อเสนอแนะเพื่อกำรวิจัย
2.1 ควรศึกษาปัญหาและแนวทางการพฒนาการสืบสวนของพนักงานสืบสวน ด้านการ
ั
คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหา ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560
2.2 ควรศึกษาก าลังขวัญ (Morale) ของพนักงานสอบสวนตามสถานีต ารวจโดยทั่วไป
2.3 ควรศึกษาการรับรู้ (Perception) ของผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้าร่วมกระบวนการสอบสวน
ิ
คดีอาญาในฐานะผู้เชี่ยวชาญ ต่อกระบวนการสอบสวนคดีอาญาด้านการพทักษ์สิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา
เอกสำรอ้ำงอิง (References)
กรมองค์การระหว่างประเทศ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: กระทรวงการต่างประเทศ,
2551.
กองส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม. (มปป.). ชุดความรู้ สิทธิ
มนุษยชน สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ สนธิสัญญาหลักระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่
ประเทศไทยภาคี. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2561, http://www.rlpd.go.th/ rlpdnew/images/
rlpd1/HRCnhr.pdf.
208