Page 206 - thaipaat_Stou_2563
P. 206
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบสัมภาษณ์ ดูค่าสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับวัตถุประสงค์ (IOC) และท า
การปรับปรุงเครื่องมือตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการน าไปใช้จริง
้
กำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรตรวจสอบควำมน่ำเชื่อถือของขอมูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์จ าแนกชนิดข้อมูล (Typological analysis) ขั้นตอนการ
วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) จัดระเบียบข้อมูล และจัดเก็บข้อมูลให้เป็นระบบระเบียบหรือแยกส่วนเนื้อหาให้เป็น
ื่
ระเบียบ (2) ให้รหัสข้อมูล (Coding) เพอสรรหาความหมายที่ตรงประเด็นกับเรื่องที่ต้องการวิเคราะห์ และ
ก าหนดรหัสแทนความหมายของข้อความย่อยต่าง ๆ ในข้อมูล (3) การจัดกลุ่มข้อมูล (Grouping) โดยใช้
หลักการการวิเคราะห์ค าหลัก (Domain analysis) เป็นการจัดให้กลุ่มรหัสความหมายที่เชื่อมโยงกันให้เป็น
กลุ่มก้อน หรือจัดกลุ่มค าย่อย ๆ (ความหมายย่อย) ให้อยู่ภายใต้กลุ่มค าหลักเดียวกัน โดยใช้ประเด็นตาม
วัตถุประสงค์การวิจัยเป็นหลัก และ (4) น าเสนอข้อมูลโดยการบรรยายตามประเด็นค าหลัก และหาข้อสรุป
ุ
เกี่ยวกับปัญหาอปสรรค ผลกระทบในการสอบสวนคดีอาญา ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ ของผู้ต้องหา
ั
ื่
ตลอดจนแนวทางในการพฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้าที่สอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวน เพอให้
สอดรับกับแนวทางตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560
การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของผลการวิจัย ใช้การตรวจสอบสามเส้า (Triangulation) คือ (1)
ื่
การตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่งเพอดูว่าข้อมูลที่มาจากแหล่งข้อมูล ต่างกันมีข้อสรุปตรงกัน
หรือไม่ (2) ตรวจสอบการวิเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ (3) ตรวจสอบข้อมูลเดียวกันจากมุมมองของทฤษฎีต่าง ๆ
เพอดูว่าข้อมูลเดียวกันถ้า ใช้แนวคิดทฤษฎีที่ต่างออกไปจะมีผลต่อการตีความข้อมูลหรือไม่ และ(4) การ
ื่
ตรวจสอบโดยใช้วิธีเก็บข้อมูลหลาย ๆ แบบ โดยตรวจสอบข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกเทียบเคียงจาก
แหล่งข้อมูลเอกสาร
จริยธรรมและจรรยำบรรณในกำรวิจัย
ผู้วิจัยให้ความส าคัญกับความเคารพสิทธิ ความปลอดภัยของแหล่งข้อมูล และการรักษาความลับ
ของข้อมูล โดยด าเนินการเพอรักษาจริยธรรมและจรรยาบรรณในการวิจัย โดยให้ผู้ให้ข้อมูลส าคัญได้รับทราบ
ื่
ข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาวิจัย โดยแสดงในเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมวิจัย (Participant information sheet)
และยินยอมในการเข้าร่วมวิจัย โดยแสดงในหนังสือแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมวิจัย (Informed consent
form) และการรักษาความลับ โดยการปกปิดชื่อและลักษณะส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล
ผลกำรวิจัย (Results)
1. ปัญหำ อปสรรค และผลกระทบจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่สอบสวนคดีอำญำของพนักงำน
ุ
สอบสวน ด้ำนกำรคุ้มครองสิทธิ เสรีภำพของผู้ต้องขัง ตำมบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักรำช 2560
ุ
1.1 สภำพปัญหำ อปสรรค ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนสอบสวนในกำรคุ้มครอง
สิทธิ เสรีภำพ ของผู้ต้องขัง
(1) การจับกุมตัวผู้ต้องหาต้องมีหมายศาล ยกเว้นการกระท าผิดซึ่งหน้า ส่งผลกระทบต่อ
กระบวนการบังคับใช้กฎหมายล่าช้า เพราะในทางปฏิบัตินั้นทันทีที่ได้รับแจ้งเหตุ พนักงานสอบสวนต้องรีบเร่ง
ี
รวบรวมพยานหลักฐานให้เพยงพอหนาแน่นรัดกุม สอดคล้องกับเหตุและพฤติการณ์แห่งคดีเพอยื่นให้ศาล
ื่
พจารณา ซึ่งบางครั้งต้องใช้เวลานานเป็นสาเหตุให้ผู้ต้องหาหลบหนีไปได้ และกรณีที่พนักงานสอบสวนเชิญ
ิ
้
ผู้ต้องหามาสอบปากค า ค าให้การของผู้ต้องหาหรือค าสารภาพไม่อาจน าไปอางในศาลได้ พนักงานสอบสวน
ื่
จะต้องหาพยานหลักฐานอน ๆ ประกอบด้วย ซึ่งต้องใช้เวลา เป็นเหตุให้ผู้ต้องหาหลบหนี เป็นปัญหาในการ
ติดตามตัวต่อไป
(2) การให้สิทธิผู้ต้องหาจะให้การหรือไม่ก็ได้และรวมถึงการให้สิทธิขอพบทนายความ
หรือบุคคลอนก่อนสอบสวนหรือระหว่างการสอบสวนเป็นอปสรรคต่อการสอบสวน ส่งผลกระทบต่อการ
ุ
ื่
รวบรวมพยานหลักฐาน โดยเฉพาะคดีความอาจถูกบิดเบือนโดยทนายความหรือบุคคลที่สามได้เพราะ
204