Page 205 - thaipaat_Stou_2563
P. 205

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งท าให้ต ารวจมีภารกิจต่อเนื่องมากมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการบังคับ
               ใช้กฎหมาย ได้แก่การสืบสวน สอบสวนคดีอาญา การตรวจท้องที่ การควบคุมการจราจร  เป็นต้น จะเห็นได้ว่า
                           ื่
               การกระท าเพอด ารงไว้ซึ่งความสงบสุข หรือก่อให้เกิดความสงบสุขในสังคม จึงท าให้ต ารวจมีหน้าที่ที่จะต้องไป
                                                                                                ุ้
                                   ั้
               เกี่ยวข้องกับเหตุการณทงหลายต่าง ๆ ที่จะน าไปสู่ความวุ่นวายในสังคมได้ เป็นต้นว่าการให้ความคมกันแก่การ
                                          ิ
               ชุมนุมของประชาชนในโอกาสพเศษต่าง ๆ เช่น งานนักขัตฤกษ์ ทั้งนี้เป็นการคุ้มกันป้องกันมิให้เกิดความสงบ
               สุขเกิดขึ้น นอกจากนี้แล้ว ต ารวจยังมีหน้าที่ให้บริการแก่ประชาชนโดยทั่วไป เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ต้อง
               ปฏิบัติหน้าที่ตลอด 24 ชั่วโมง ครั้นเมื่อประชาชนมีปัญหามักจะมาปรึกษาหารือกับต ารวจ หรือเป็นคนกลางใน

               การชี้แนะหรือตัดสินปัญหาเป็นไปในลักษณะที่ให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
               อย่างไรก็ดี หน้าที่ความรับผิดชอบของต ารวจที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้เป็นหน้าที่ที่ได้ปฏิบัติต่อเนื่องกันจากอดีต
               เรื่อยมาซึ่งเรียกว่า การปฏิบัติหน้าที่แบบจารีตนิยมต ารวจ มีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมาย และรักษาความ
               สงบเรียบร้อยของบ้านเมือง (Law Enforcement and Order Maintaining) เพอความกระจ่างชัดในหน้าที่
                                                                                   ื่
               ต ารวจแบบจารีตประเพณีนี้
               วิธีด ำเนินกำรวิจัย (Research Methods)
                                ึ
                          การศกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เพื่อถอดบทเรียน
                                               ุ
               (Lesson Learned) เกี่ยวกับปัญหาอปสรรคและผลกระทบจากการปฏิบัติหน้าที่สอบสวนคดีอาญาของ
               พนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560
                                      ั
               และค้นหาแนวทางในการพฒนาประสิทธิภาพสอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครองสิทธิ
               เสรีภาพของผู้ต้องหา เพื่อให้สอดรับกับแนวทางตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560  เทคนิควิธีวิจัย
               ที่ใช้ คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก  (In-depth interview)
               พื้นที่ในกำรศึกษำวิจัย
                                      ื้
                                                              ื้
                           ผู้วิจัยเลือกพนที่ในการศึกษาวิจัย ได้แก่ พนที่ในเขตกองบังคับการต ารวจนครบาล 9 โดยเลือก
               สถานีต ารวจที่มีความพร้อมและยินยอมในการให้ข้อมูล
               กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส ำคัญ
                          การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling)  โดย
               ก าหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญ (Key informant) ไว้ 2 ส่วน ดังนี้

                                                                               ุ
                          ส่วนที่ 1 ถอดบทเรียน (Lesson Learned) เกี่ยวกับปัญหาอปสรรค และผลกระทบจากการ
               ปฏิบัติหน้าที่สอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา ตาม
               บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560  ผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ได้แก่ พนักงานสอบสวนจากสถานีต ารวจในเขต
               พื้นที่กองบังคับการต ารวจนครบาล 9 จ านวน 10 แห่ง แห่งละ 2 คน รวม 20 คน
                          ส่วนที่ 2 การค้นหาแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพสอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวน
                                                      ื่
               ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา เพอให้สอดรับกับแนวทางตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พทธศักราช
                                                                                                 ุ
               2560  กลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
                                                                            ื้
                          (1) กลุ่มหัวหน้าพนักงานสอบสวนจากสถานีต ารวจในเขตพนที่กองบังคับการต ารวจนครบาล 9
               จ านวน 10 แห่ง แห่งละ 1 คน รวม 10 คน
                          (2) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายหรือด้านการสอบสวน จ านวน 5 คน
               เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำวิจัยและกำรตรวจสอบคุณภำพเครื่องมอ
                                                                       ื
                          การเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-
               depth Interview)  โดยการเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ได้แก แนวการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-
                                                                     ่
               structured interview) การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิจ านวน 3 ท่าน  โดยท าการ



                                                                                                     203
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210