Page 207 - thaipaat_Stou_2563
P. 207
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ทนายความไม่ทราบข้อเท็จจริงต่าง ๆ ของคดีว่า มีเหตุการณ์เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อใด และอย่างไร ท าให้ไม่ได้
รายละเอียดแห่งคดีที่แท้จริง และในการถามค าให้การผู้ต้องหาแก่ผู้ต้องหานั้น พนักงานสอบสวนจะต้องแจ้งให้
ผู้ต้องหาทราบก่อนว่า ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะให้การหรือไม่ให้การก็ได้ ซึ่งหากผู้ต้องหาเลือกที่จะไม่ให้การใด ๆ อัน
เกี่ยวข้องกับคดีที่ก าลังสอบสวนแล้ว อาจจะส่งผลให้ การรวบรวมพยานหลักฐานทางคดีของพนักงานสอบสวน
ไม่สามารถที่จะรวบรวมพยานหลักฐานได้อย่างแม่นย า ถูกต้อง และรัดกุม อาจจะเกิดความคลาดเคลื่อนใน
ข้อเท็จจริงในการด าเนินตามกฎหมายได้
ื่
(3) การให้สิทธิผู้ต้องหาจะไม่ถูกควบคุมตัวเกินความจ าเป็นเพอป้องกันมิให้หลบหนี
เท่านั้น ซึ่งสังคมภายนอกอาจไม่เห็นความจ าเป็นและอาจเข้าใจว่าเป็นการละเมิดสิทธิของบุคคล ข้อครหา
ดังกล่าวอาจส่งผลต่อการตัดสินใจของพนักงานสอบสวนได้ เพราะเกรงว่าจะถูกมองเป็นการกระท าเกินกว่าเหตุ
ั
ซึ่งโดยข้อเท็จจริงแล้วผู้ต้องหานั้น อาจจะเป็นผู้ต้องหาที่กระท าความผิดรุนแรง มีอตราโทษที่สูง จึงต้องมีการ
ควบคุมอย่างหนาแน่น ประกอบกับการขาดแคลนเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่ในการควบคุมคุมตัวผู้ต้องหานั้นมีอยู่ใน
จ านวนที่จ ากัด แต่ต้องมีการปฏิบัติหน้าที่ ในการเฝ้าผู้ต้องหาอยู่ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งหากเกิดข้อผิดพลาด
ื่
เจ้าหน้าที่ต ารวจเองก็จะได้รับความผิดทางอาญา และต้องมีการออกติดตามจับกุมตัวเพอน าตัวผู้ต้องหามา
ด าเนินคดีอาญาต่อไป ถึงแม้กฎหมายเองนั้นจะมีบทกาหนดโทษ เกี่ยวกับการหลบหนีจากที่คุมขังกตามแต่เมื่อ
็
คิดว่าอัตราโทษที่ตัวเองต้องได้รับเมื่อกระบวนการสอบสวนด าเนินต่อไป เพราะอัตราโทษที่สูงนั้นสูงเกินไปหรือ
ั
มีอตราโทษประหารชีวิต จึงท าให้ผู้ต้องหาคิดว่า การหลบหนีจากห้องควบคุมนั้นจะเป็นทางออกที่ดีกว่าอตรา
ั
โทษที่ตัวเองจะได้รับจึงตัดสินใจหลบหนี
(4) การให้สิทธิผู้ต้องหาจะไม่ถูกควบคุมตัวในก าหนดเวลาเกินความจ าเป็น เป็นเหตุให้
พนักงานสอบสวนต้องเร่งรีบท าการสอบสวนให้แล้วเสร็จตามก าหนดเวลาฝากขัง หากไม่แล้วเสร็จเพราะ
บางครั้งพนักงานสอบสวนมีงานในหน้าที่รับผิดชอบมากจึงจ าเป็นต้องฝากขังต่อและพนักงานสอบสวนต้องอาง
้
ิ
เหตุผลที่เพยงพอเพอให้ศาลพจารณาอนุญาตฝากขัง เพราะบางกรณีผู้ต้องหาใช้สิทธิคัดค้านการฝากขัง ท าให้
ี
ื่
เกิดความยุ่งยากเป็นภาระของพนักงานสอบสวนที่ต้องให้ความส าคัญในเรื่องนี้ โดยกฎหมายได้คุ้มครองสิทธิ
ของผู้ต้องหา โดยก าหนดขอบเขตเวลาของการควบคุมตัวผู้ต้องหาไว้เท่าความจ าเป็นตามพฤติการณ์แห่งคดี
(5) สิทธิของผู้ต้องหาสามารถปฏิเสธการให้การในชั้นสอบสวน เพอให้การในชั้นศาล เป็น
ื่
ปัญหาต่อการแสวงหาหลักฐานเบื้องต้น ในบางครั้งอาจเป็นคุณและโทษต่อผู้ต้องหานั้นเอง การที่ผู้ต้องหาให้
การปฏิเสธ หรือปฏิเสธการที่จะให้การใด ๆ ในชั้นสอบสวนนั้น บางครั้ง ผู้ต้องหาอาจจะเข้าใจว่าเกิดประโยชน์
แก่ตนเอง ซึ่งโดยความเป็นจริงแล้วนั้น เป็นการสร้างความยุ่งยาก และเกิดความล าบากในการรวบรวม
ิ
ื่
พยานหลักฐานต่าง ๆ เพอพสูจน์ความผิด ซึ่งท าให้ไม่สามารถแสวงหาข้อเท็จจริงได้เท่าที่ควร ปัญหาก็จะเกิด
กับผู้ต้องหาเองได้ เพราะไม่มีหลักฐานใดที่จะมายืนยันว่า ผู้ต้องหาไม่ได้มีการกระท าความผิด
(6) สิทธิของผู้ต้องหาในการยื่นขอประกันตัวชั่วคราว หนักงานสอบสวนต้องรีบเสนอให้
ผู้บังคับบัญชาสั่งการโดยเร็ว ปัญหาความล่าช้าจะเกิดขึ้นได้กรณีผู้บังคับบัญชาไม่ได้อยู่ประจ าสถานีต ารวจ
ส่งผลต่อความไม่พอใจของผู้ต้องหาและอาจท าเรื่องร้องเรียนขอความเป็นธรรม ผลกระทบที่ส าคัญของการให้
สิทธิยื่นขอประกันตัวของผู้ต้องหา และเมื่อได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว ท าให้ผู้เสียหาย หรือพยานในคดีความ
เกิดความหวาดกลัวจะคุกคาม การให้ความร่วมมือต่อพนักงานสอบสวนอาจมีปัญหาตามมาได้
(7) คดีความบางคดี เช่น อาชญากรรมทางเพศ คดีเด็กและยาวชน การด าเนินสอบสวน
ต้องประสานงานกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะส าหรับลักษณะของคดีนั้น ๆ ผู้เชี่ยวชาญดังกล่าว
ไม่ได้อยู่ประจ าที่สถานีต ารวจ เป็นภาระหน้าที่ของพนักงานสอบสวนต้องแสวงหาด้วยตนเองและเป็นปัญหา
เกี่ยวกับความสมัครใจในลักษณะจิตอาสาของกลุ่มบุคคลภายนอกดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับการบูรณาการกับ
บุคคลภายนอกที่กระทบต่อกระบวนการสอบสวน
205