Page 215 - thaipaat_Stou_2563
P. 215

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               Keyword:  United States, China, great power, world order, international institutions
                                  ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสหรัฐอเมริกำกับสำธำรณรัฐประชำชนจีน

                                   ในสมัยประธำนำธิบดีบำรัค  โอบำมำ (ค.ศ. 2009-2016)


                       ภายหลังสงครามเย็นสิ้นสุดลงไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991


                                                             ี
               สหรัฐอเมริกาได้ผงาดขึ้นมาเป็นประเทศมหาอานาจเพยงหนึ่งเดียว ในช่วงเวลานั้นไม่มีประเทศใดที่มีอานาจ

                                                                   ั
               ทัดเทียมสหรัฐ ฯ ได้เลย จีนซึ่งปัจจุบันมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่อนดับต้นๆ และเป็นหนึ่งในประเทศมหาอานาจ
               ของโลกยังเป็นเพยงประเทศยากจนและการเมืองภายในขาดเสถียรภาพ ด้วยเหตุนี้ สหรัฐ ฯ จึงปรับเปลี่ยน
                              ี
                                                                                                   ื่
               แนวทางจากการโดดเดี่ยวตนเอง มาเป็นการมีส่วนร่วมอย่างเข้มข้นในการจัดระเบียบโลกใหม่เพอรักษา
               สันติภาพ และพิทักษ์ผลประโยชน์ของสหรัฐฯ สืบต่อไปในอนาคต ระเบียบโลกใหม่ที่สหรัฐ ฯ เป็นผู้วางรากฐาน
               ไว้นั้นแตกต่างจากระเบียบโลกที่เคยมีมา กล่าวคือ ระเบียบโลกแบบเดิมซึ่งอาศัยการถ่วงดุลอานาจ (balance

                           ี
               of power) เพยงอย่างเดียวได้ปรับเปลี่ยนมาเป็นระเบียบโลกที่อาศัยกฎเกณฑ์ ระเบียบและความเป็นสถาบัน
               ระหว่างประเทศ (rule-based institutionalization) ในการจัดสรรความสัมพันธ์ระดับนานาชาติร่วมด้วย
                       งานศึกษาชิ้นนี้จะใช้กรอบแนวคิด Liberal Institutionalism โดยอ้างอิงจากงาน Cooperation and

               International Regimes ของ Robert O. Keohane (Keohane, 2006) และงาน Liberal Leviathan ของ
               G. John Ikenberry (Ikenberry, 2011)
                       ใจความส าคัญของ Liberal Institutionalism จากงานของ Keohane คือ ประเทศต่างๆ แสวงหา
                    ิ
                                                                     ื้
               และพทักษ์ผลประโยชน์แห่งชาติด้วยการร่วมมือกันซึ่งตั้งอยู่บนพนฐานของกฎหมายระหว่างประเทศ ค่านิยม
                                                          ั
               หรือมาตรฐานเชิงพฤติกรรมบางอย่างที่ยอมรับร่วมกน นอกจากนี้ยังมีสถาบันระหว่างประเทศที่คอยก ากับและ
                              ั
               จัดการความสัมพนธ์รวมทั้งความขัดแย้งระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ(UN) องค์กรการค้าโลก(WTO)
               กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เป็นต้น
                                                           ิ่
                                                                                         ิ
                       ในส่วนของงานของ Ikenberry ได้อธิบายเพมเติมว่าระเบียบโลกใหม่มีลักษณะพเศษที่ดึงดูดให้แต่ละ
                                                                              ิ
               ประเทศเข้าร่วมภายในกฎเดียวกันมากกว่า เนื่องจากเน้นความร่วมมือโดยองแนวคิดของการเปิดเสรีทางการ
               เมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ได้แก่ การเปิดตลาด การแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจและสังคม ความร่วมมือทาง
               สถาบันในระดับพหุภาคี การประสานประโยชน์ด้านความมั่นคงภายใต้กฎระเบียบเดียวกัน การส่งเสริม
               ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน ซึ่งสิ่งเหล่านี้อยู่ภายใต้การน าของสหรัฐ ฯ นอกจากนี้ ระเบียบโลกมีลักษณะเปิด

               กว้างที่ให้ประเทศใดเข้าร่วมก็ได้ และจะได้รับประโยชน์จากการเข้าถึงตลาด เงินทุน เทคโนโลยีจากนานาชาติ
                                                                ั
               ได้รับประโยชน์ทางการเมืองและความมั่นคงจากการเป็นพนธมิตรกับสหรัฐ ฯ เมื่อการเข้าร่วมสร้างประโยชน์

               ให้สมาชิก จึงท าให้เป็นระบบที่ล้มล้างได้ยาก นอกจากนี้ สหรัฐ ฯ ในฐานะมหาอานาจผู้คุมกฎของระเบียบโลก
                        ิ
               ใหม่ยังมีอทธิพลทั้งลักษณะที่เป็นการใช้อานาจบงการ (command) และการเข้าร่วมโดยสมัครใจ (consent)

                                                                                     ิ
               ซึ่งการใช้อ านาจบงการ หมายถึงความสัมพันธ์ของอ านาจที่ไม่เท่ากัน มหาอ านาจใช้อทธิพลที่เหนือกว่าควบคุม
                                                                                             ื้
                                                                                       ั
               ให้อกฝ่ายปฏิบัติตามที่ตนเองต้องการ ส่วนการเข้าร่วมโดยสมัครใจ หมายถึงความสัมพนธ์บนพนฐานของกฎที่
                   ี
               ยอมรับร่วมกัน และมีสถาบันระหว่างประเทศเป็นผู้พทักษ์สิทธิประโยชน์ และควบคุมพฤติกรรมของประเทศ
                                                           ิ
               ต่าง ๆ สิ่งที่เกิดขึ้นคือสหรัฐ ฯ ใช้การผสมผสานระหว่างการใช้อานาจบงการและการเข้าร่วมโดยสมัครใจ

                  ื่
               เพอให้ประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมภายใต้กฎเดียวกัน และสหรัฐ ฯ ก็ปฏิบัติตามกฎที่ตนเองสร้างไม่มากก็น้อย
               ระเบียบโลกใหม่นี้ประสบความส าเร็จในการผนวกรวมคู่สงครามเดิมของสหรัฐ ฯ ทั้งเยอรมนีตะวันออก และ
                                                                                                ั
               ญี่ปุ่น และเปลี่ยนให้กลายเป็นหนึ่งในพนธมิตรที่ส าคัญที่สุดของสหรัฐ ฯ มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่อนดับต้น ๆ
                                                ั
               ของโลก เลิกใช้ความรุนแรงเพอยุติความขัดแย้ง โดยเปลี่ยนมาใช้หลักการของระเบียบโลกใหม่ที่แก้ปัญหาด้วย
                                        ื่
                                                                                                     213
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220