Page 219 - thaipaat_Stou_2563
P. 219

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       ความร่วมมือดังกล่าวมีจุดเริ่มต้นจากการบริหารจัดการภายในประเทศ โดยที่ทั้งจีนและสหรัฐฯ ต่าง
                                                                                      ื้
               ตระหนักถึงความส าคัญของการควบคุมการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นพนฐานส าคัญและปัจจัย
               สร้างความส าเร็จของกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United
               Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC) ซึ่งผลักดันเรื่องสิ่งแวดล้อมและ
               ภาวะโลกร้อนในระดับพหุภาคี (Harvard Project on Climate Agreements, 2016, p. 1-2) จีนร่วมมือ
                                                                                            ื่
               กับองค์กรระหว่างประเทศและองค์กรภาคเอกชนที่ไม่แสวงหาผลก าไรมากขึ้นเรื่อย ๆ เพอสนับสนุนและ
               ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Nathan, 2016, p. 178) จีนเริ่มแก้ปัญหามลภาวะและปัญหาโลกร้อนอย่าง
                                                                  ั
               จริงจังตั้งแต่ราวปี 2013 ตามที่ได้มีการวางแผนไว้ในแผนพฒนา 25 ปีของจีน แผนดังกล่าวก าหนดให้มีทั้ง
               การควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การปรับโครงสร้างอตสาหกรรม การประหยัดพลังงาน และใช้พลังงาน
                                                                ุ
                                                               ั
               อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นต้น ประกอบกับการพฒนาอตสาหกรรมให้ทันสมัยและการเปลี่ยนแปลง
                                                                    ุ
               โครงสร้างทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ส่งผลให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยจีดีพีในปี 2013 ลดลง 4.3% จาก
               ปี 2012 และลดลง 28.6% จากปี 2005 ในส่วนของสหรัฐฯ นั้น รัฐบาลสมัยประธานาธิบดีโอบามาได้ใช้
                                    ื่
               เครื่องมือทางกฎหมายเพอผลักดันการลดก๊าซเรือนกระจก นอกจากนี้ รัฐคลิฟอร์เนียยังวางระบบการซื้อขาย
               สิทธิในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Emission Trading System: ETS) เนื่องจากรัฐแคลิฟอร์เนียมี

               ขนาดใหญ่มากทั้งในแง่พนที่ทางภูมิศาสตร์ และขนาดเศรษฐกิจท าให้ระบบ ETS ของที่นี่กลายเป็นหนึ่งใน
                                     ื้
               ระบบต้นแบบที่ส าคัญของโลก นอกจากนี้สหรัฐ ฯ ยังพัฒนาเทคโนโลยีที่ท าให้สามารถน าก๊าซธรรมชาติมาใช้ได้
               มากขึ้นด้วยต้นทุนที่ลดลง ก๊าซธรรมชาติยังปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์น้อยกว่าถ่านหินจึงเป็นที่นิยมมาก

               ท าให้วงการเทคโนโลยีสีเขียวในสหรัฐ ฯ พฒนาได้อย่างมาก (Harvard Project on Climate Agreements,
                                                   ั
               2016, p. 2)
                       สหรัฐ ฯ และจีนออกแถลงการณ์ร่วมในปี 2014 ว่าทั้งสองประเทศจะร่วมมือกันลดการปล่อยก๊าซ
               คาร์บอนไดออกไซด์ และให้ค ามั่นว่าจะขยายความร่วมมือระหว่างกันเพอพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดและ
                                                                          ื่
               การกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (clean-energy and carbon-capture-and-storage technologies)

                                              ื่
               การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอน ๆ แลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practices) ในทางบริหาร
               จัดการ และสนับสนุนการผลิตสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Harvard Project on Climate Agreements,
               2016, p. 2-3) กล่าวได้ว่าเป็นก้าวใหม่ของความร่วมมือทวิภาคี และพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม สิ่งที่ทั้งสอง

               ประเทศแถลงในครั้งนี้ได้ปรากฏในแผนที่เสนอต่อ UNFCCC ในปี 2015
                       ไม่กี่ทศวรรษก่อนหน้านี้ ประชาคมโลกเคยพยายามหาข้อตกลงเพอลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
                                                                               ื่

               น ามาซึ่งการเสนอพธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) แต่ไม่ส าเร็จเพราะมหาอานาจอย่างสหรัฐ ฯ ไม่ยอมให้
                                ิ
               สัตยาบันท าให้หลายประเทศรวมทั้งจีนถอนตัวตามไป แม้หลายประเทศเห็นด้วยกับหลักการของข้อตกลง
                                                                    ิ
                                       ั
               ดังกล่าวที่ระบุว่าประเทศที่พฒนาแล้วควรเร่งลดการปล่อยมลพษ และควรลดได้มากกว่าประเทศก าลังพฒนา
                                                                                                     ั
               นอกจากนี้ ประเทศที่พฒนาแล้วควรสนับสนุนทางการเงินแก่ประเทศก าลังพฒนาเพอให้เปลี่ยนนโยบายด้าน
                                                                                     ื่
                                   ั
                                                                               ั
               พลังงานด้วย มีการตั้งข้อสังเกตว่าปัจจุบัน จีนยอมรับและพฒนาด้านพลังงานหมุนเวียนมากกว่าสหรัฐ ฯ ซึ่ง
                                                                 ั
                                  ื่
               อาจจะไม่ได้เป็นไป เพอตอบสนองต่อค่านิยมในระดับระหว่างประเทศเสียทั้งหมด ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก
               นโยบายของจีนเองที่ต้องการมีความมั่นคงทางพลังงานด้วยเช่นกัน (Nathan, 2016, p. 188) แต่ก็กล่าวได้
                                                                                          ิ
               ว่าจีนมีพนฐานที่ดีที่จะรองรับมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมในระดับโลกชุดใหม่ที่มาแทนที่พธีสารเกียวโต เช่น
                       ื้
               ความตกลงปารีส (Paris Climate Change Agreement) ในปี 2015 เป็นต้น



                                                                                                     217
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224