Page 220 - thaipaat_Stou_2563
P. 220
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
สหรัฐฯ และจีนออกแถลงการณ์ร่วมครั้งที่สองในปี 2015 โดยตกลงที่จะร่วมกันสนับสนุนความตกลง
ปารีสในเดือนธันวาคม 2015 ส่งเสริมความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคีด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
ี
รวมทั้งผลักดันการแก้ปัญหาภูมิอากาศภายในประเทศของตนเอง จีนยังแถลงอกว่าจะเริ่มใช้ระบบการซื้อขาย
ั
สิทธิในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปี 2017 มีการมอบเงินสนับสนุนประเทศที่ก าลังพฒนาในการ
แก้ปัญหาโลกร้อน และตั้งเป้าว่าภายในปี 2030 จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อหน่วย GDP ให้ได้
60% ถึง 65% จากระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปี 2005 ส่วนสหรัฐ ฯ ก็แถลงว่าจะร่างแผน
Clean Power Plan ส าหรับปี 2016 ให้เสร็จโดยเร็ว รวมทั้งออกกฎหมายควบคุมการใช้พลังงานอย่างมี
ประสิทธิภาพของรถบรรทุกขนาดใหญ่ (Harvard Project on Climate Agreements, 2016, p. 3)
นอกจากนี้ ในปี 2013 สหรัฐฯ และจีนยังลงนามใน Montreal Protocol ฉบับแก้ไขใหม่ซึ่งมุ่งลด
การใช้สารประกอบพวก CFCs (chlorofluorocarbons) และ HCFCs (hydrochlorofluorocarbons) ซึ่ง
ท าลายชั้นโอโซนได้มากกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในปี 2016 ก็ได้แถลงถึงผลส าเร็จที่เป็นรูปธรรม
ิ่
ประกอบกับความตกลงปารีสที่เพงลงนามในปลายปี 2015 แสดงให้เห็นว่าทั้งสองประเทศมุ่งมั่นที่จะร่วมมือ
กันลดภาวะโลกร้อน สหรัฐ ฯ พร้อมที่จะเผยแพร่ยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับความตกลงปารีส ส่วนจีนเตรียมจะ
ร่างยุทธศาสตร์ให้เร็วที่สุด โดยทั้งสองประเทศจะร่วมมือกันทางเทคนิคและให้ค าปรึกษาในการร่างยุทธศาสตร์
ื่
ดังกล่าว ยิ่งไปกว่านั้น ทั้งสองฝ่ายยังตกลงกันที่จะร่วมมือผลักดันการลดการปล่อยมลภาวะผ่านเวทีอน ๆ เช่น
ื่
องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization หรือ ICAO) เพอลด
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการบินพลเรือน โดยยังคงปฏิสัมพนธ์ผ่านเวทีทวิภาคี ไม่ว่าจะเป็น
ั
ศูนย์วิจัยสหรัฐฯ-จีนด้านพลังงานสะอาด (U.S.-China Clean Energy Research Center หรือ CERC) ซึ่ง
จัดตั้งขึ้นในปี 2009 หรือคณะท างานสหรัฐฯ - จีนด้านการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (U.S.-China
:
Climate Change Working Group หรือ CCWG) ซึ่งจัดตั้งขึ้นในปี 2013 (FACT SHEET U.S.-China
Cooperation on Climate Change, 2016) ซึ่งเป็นผู้จัดการประชุมสุดยอดผู้น าสหรัฐฯ – จีนด้านเมือง
คาร์บอนต่ าและเท่าทันต่อภูมิอากาศ (U.S.-China Climate-Smart / Low-Carbon Cities Summit) ทั้งสิ้น
2 ครั้ง คือ ครั้งที่หนึ่ง ในปี 2015 ณ เมืองลอส แองเจลลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา และครั้งที่
สอง ในปี 2016 ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน (U.S.-China Climate Change Working Group (CCWG),
2019) นอกจากนี้ มีการประชุมระดับพหุภาคีในชื่อการประชุมระดับรัฐมนตรีด้านพลังงานสะอาด (Clean
Energy Ministerial หรือ CEM) (FACT SHEET: U.S.-China Cooperation on Climate Change, 2016)
ซึ่งสหรัฐ ฯ และจีนเป็นสมาชิกรวมกันประเทศพัฒนาแล้วและประเทศเศรษฐกิจใหม่อื่น ฯ ซึ่งรวมกันแล้วมีการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกราว 75% ของโลกและมีการลงทุนด้านพลังงานสะอาดราว 90% ของโลก สมาชิก
ั
ื่
CEM ประชุมร่วมกันทุกปีเพอหารือและผลักดันการพฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาด (The Clean Energy
Ministerial, n.d.)
สรุป
จากการศึกษาพบว่าแม้สหรัฐ ฯ กับจีนมีความขัดแย้งหรือมีความคิดเห็นไม่ตรงกันในหลายประเด็น
แต่ก็มีความพยายามที่จะก าหนดแนวทางปฏิบัติที่ยอมรับได้ร่วมกัน สร้างผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งจะเป็น
ื้
พนฐานที่เข้มแข็งส าหรับความสัมพนธ์ที่ยั่งยืนต่อไปในอนาคต แม้จะสร้างความร่วมมือไว้หลายช่องทาง แต่
ั
สหรัฐฯ และจีนยังหวาดระแวงกันอยู่ กรอบแนวคิด Liberal Institutionalism จะไม่มองว่าเป็นความล้มเหลว
แต่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่ยาวนานในการสร้างประชาคมนานาชาติที่องอยู่กับกฎเกณฑ์ และการมี
ิ
ค่านิยมร่วมกัน เพียงแต่กระบวนการดังกล่าวของสหรัฐ ฯ และจีนยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น
218