Page 218 - thaipaat_Stou_2563
P. 218

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ตั้งแต่ปี 2006 โดยตั้งวิสัยทัศน์ว่าจีนจะเปลี่ยนจากการเป็นแหล่งรับจ้างผลิตเทคโนโลยีระดับต่ ามาเป็นศูนย์
               สร้างนวัตกรรมระดับสูงภายในปี 2020 และเป็นผู้น าโลกด้านนวัตกรรมภายในปี 2050 (Morrison, 4

               January 2017, p. 50) แต่แนวปฏิบัติที่เป็นอยู่รวมทั้งกฎหมายที่ร่างตามมานั้นทางสหรัฐ ฯ มองว่าจะสร้าง
               ปัญหามากกว่าประโยชน์ กล่าวคือ ธุรกิจต่างชาติถูกบีบให้ต้องถ่ายโอนเทคโนโลยีให้จีน มิฉะนั้นจะไม่ได้รับ
                                                                    ื่
                                                                                                   ิ
               อนุญาตให้ท าธุรกิจในจีน บ่อยครั้งเป็นการบีบบังคับด้วยวาจาเพอไม่ให้มีหลักฐานในการยื่นเรื่องข้อพพาทกับ
               WTO (Morrison, 4 January 2017, p. 33) รวมทั้งกีดกันไม่ให้ต่างชาติท าธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยี
               สารสนเทศด้วยเหตุผลทางด้านความมั่นคง (Morrison, 4 January 2017, p. 38) ทางสหรัฐ ฯ ได้กดดันจีน
               อย่างต่อเนื่อง ในที่สุดภายหลังการประชุมของประธานาธิบดีโอบามาและประธานาธิบดีสี จิ้นผิงในเดือน
               กันยายน 2016 ท าเนียบขาวได้ออกแถลงการณ์ว่าทั้งสองฝ่ายตกลงที่จะไม่ใช้นโยบายหรือแนวปฏิบัติใด ๆ ที่
               ก าหนดให้การถ่ายโอนเทคโนโลยีหรือสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาเป็นเงื่อนไขในการท าธุรกิจในตลาดของแต่ละ

               ฝ่าย (Morrison, 4 January 2017, p. 41) หลายฝ่ายต่างหวังว่าวิสัยทัศน์ของจีนที่จะเป็นผู้น าด้านนวัตกรรม
               นั้นจะท าให้จีนตระหนักได้ว่าการปกป้องและสนับสนุนทรัพย์สินทางปัญญาของบริษัทจีนและต่างชาติอย่างเท่า
               เทียมกันจะสนับสนุนให้เกิดการคิดค้นนวัตกรรมได้อย่างแท้จริง
                       อีกปัญหาหนึ่งที่เรื้อรังมานานแต่มีแนวโน้มดีขึ้น คือ ปัญหาการกดค่าเงินหยวน จีนเริ่มตรึงค่าเงินหยวน

               ให้อยู่ที่ราว 8.28 หยวนต่อดอลล่าร์สหรัฐมาตั้งแต่ปี 1998 ถึง 2005 แต่การควบคุมค่าเงินผิดหลักการของ
                                                                  ุ
                                                                                      ้
               IMF (Nathan, 2016, p. 177) หลายฝ่ายมองว่าเป็นการอดหนุนจากภาครัฐทางออม การลดค่าเงินท าให้
               สินค้าส่งออกจากจีน มีราคาถูกลงและส่งออกได้มากขึ้น การกดดันจากสหรัฐ ฯ และประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ของจีน
               มีส่วนท าให้จีนปฏิรูประบบอตราแลกเปลี่ยนในปี 2005 โดยเปลี่ยนมาเป็นระบบลอยตัวภายใต้การจัดการ
                                       ั
               นอกจากนี้ ในเดือนเมษายน ปี 2016 จีนเห็นพองกับแถลงการณ์ร่วมของการประชุม G-20 ที่ว่าประเทศ
                                                        ้
                                                                     ื่
                                                     ั
               สมาชิกจะ “เลี่ยงการลดค่าเงินและการใช้อตราแลกเปลี่ยนเพอการแข่งขันทางเศรษฐกิจ” (Morrison, 4
               January 2017, p. 50-51)
                                           ่
                       การที่เงินดอลลาร์สหรัฐออนค่าลงหลังวิกฤตการเงินและเงินหยวนแข็งค่าขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันท าให้

               หลายประเทศเริ่มถือครองเงินหยวนมากขึ้น จึงเกิดการตั้งข้อสังเกตว่าเงินหยวนอาจเริ่มท้าทายสถานะอานาจ
               น าของเงินดอลลาร์สหรัฐ แต่จีนไม่มีท่าทีเช่นนั้น เพราะจีนยังคงใช้ทั้งเงินดอลลาร์สหรัฐ เงินยูโร และเงินสกุล
                 ื่
               อนๆ ในการค้าระหว่างประเทศ จีนไม่มีท่าทีว่าต้องการและไม่มีศักยภาพเพยงพอที่จะผลักดันให้เงินหยวน
                                                                               ี
               กลายเป็นเงินสกุลหลักแทนดอลลาร์ จริงอยู่ที่จีนริเริ่มสถาบันทางการเงินระหว่างประเทศใหม่ ๆ
               นอกเหนือไปจาก IMF และธนาคารโลก ไม่ว่าจะเป็น BRICS New Bank ในปี 2012 หรือ Asian
               Infrastructure Investment Bank ในปี 2014 แต่สถาบันเหล่านี้ปล่อยกู้ให้กับโครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ ใน
               ภูมิภาคซึ่งไม่ได้ท้าทายระเบียบโลกทางการเงินหรือทางเศรษฐกิจที่มีอยู่แล้วแต่อย่างใด (Nathan, 2016, p.

               182-183)
                         ื
               ควำมร่วมมอระหว่ำงสหรัฐอเมริกำและจีนทำงด้ำนพลังงำนและสิ่งแวดล้อม
                       ปัญหาด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อนมีลักษณะข้ามพรหมแดนเช่นเดียวกันกับปัญหา
                                                                       ื่
               ด้านความมั่นคงและด้านเศรษฐกิจ หลายประเทศจึงหันมาเจรจาเพอหาทางจัดการความท้าทายใหม่นี้ร่วมกัน
               ความร่วมมือด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมนี้ไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นถึงการที่สหรัฐ ฯ และจีนเล็งเห็นความส าคัญ
                                                                                               ื้
               และหนทางการจัดการปัญหาระหว่างกันด้วยตรรกะของระเบียบโลกใหม่เท่านั้น แต่ยังเป็นพนฐานส าคัญ
                                                                           ี
               ส าหรับความร่วมมือด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในระดับนานาชาติอกด้วย เพราะทั้งสองประเทศมีขนาด
                                                                                              ี
                                 ั
                                                                             ั
               เศรษฐกิจขนาดใหญ่อนดับหนึ่งและสองของโลก รวมทั้งยังปล่อยมลภาวะอนดับต้นๆ ของโลกอกด้วย ปัญหา
               มลภาวะและปรากฏการณ์โลกร้อนคงไม่ทุเลาลงถ้าตัวการส าคัญไม่เปลี่ยนมาเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหา
                                                                                                     216
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223