Page 216 - thaipaat_Stou_2563
P. 216

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               สันติวิธี


               ระเบียบโลกดังกล่าวสร้างประโยชน์ให้จีนเช่นเดียวกัน เห็นได้จากการที่จีนยอมรับและเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ
               ระบอบด้านเศรษฐกิจ เช่น การปฏิรูประบบเศรษฐกิจให้เป็นทุนนิยม เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์กรการค้าโลก
               และมีศักยภาพที่จะร่วมมือกับสหรัฐ ฯ ในด้านต่าง ๆ ที่จีนเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อชาติ ในช่วงหลังมากนี้
               โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมัยประธานาธิบดีบารัค  โอบามา (2009-2016) จีนก้าวขึ้นมาเป็นมหาอ านาจระดับโลก

                        ิ
               ในขณะที่อทธิพลของสหรัฐ ฯ ถดถอยซึ่งเป็นผลมาจากภาระทางงบประมาณของการท าสงครามต่อต้าน การ
               ก่อการร้ายและวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินโลกปี 2007-2008 มีการแสดงความวิตกกังวลต่อการแข่งขันเชิง

               อานาจและทางทหารและอาจจะน าไปสู่การเผชิญหน้ากันระหว่างสองมหาอานาจนี้ อย่างไรก็ตาม งานชิ้นนี้

               น าเสนอว่าสหรัฐ ฯ กับจีนมีความร่วมมือกันอย่างมากท่ามกลางความขัดแย้งดังกล่าว โดยในสมัยประธานาธิบดี
               บารัค  โอบามา ได้เห็นพฒนาการและการขยายความร่วมมือทวิภาคีระหว่างสหรัฐฯ กับจีนใน 3 หลัก คือ
                                     ั
               ความร่วมมือด้านความมั่นคง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ และความร่วมมือด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
                         ื
               ควำมร่วมมอระหว่ำงสหรัฐอเมริกำและจีนทำงด้ำนควำมมั่นคง
                       เนื่องจากสหรัฐ ฯ และจีนยังคงมีพนฐานด้านอดมการณ์แตกต่างกันและไม่สามารถรวมตัวกันเป็น
                                                    ื้
                                                              ุ
               พันธมิตรทางการเมืองและความมั่นคงที่แน่นแฟ้นได้ แต่พบว่ามีการริเริ่มแนวทางการด าเนินการหรือการเจรจา
               ระหว่างกันเกี่ยวกับการร่วมมือด้านความมั่นคงในบางประเด็น เช่น ความร่วมมือด้านความมั่นคงทางไซเบอร์
                       ความร่วมมือด้านความมั่นคงทางไซเบอร์เป็นอกความร่วมมือหนึ่งที่ส าคัญเนื่องจากเป็นประเด็น
                                                               ี
                        ่
                    ี
               ละเอยดออนและสร้างความกังวลให้สหรัฐ ฯ สืบเนื่องจากการผูกขาดของรัฐบาลจีนในธุรกิจเทคโนโลยี
               สารสนเทศ หรือธุรกิจการธนาคาร และฝ่ายรัฐบาลจีนมักขอข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีหรือขอเข้าถึงข้อมูลของ
               ผู้บริโภคโดยอ้างเหตุผลเรื่องความมั่นคงซึ่งเป็นทั้งการละเมิดลิขสิทธิ์และสิทธิ์ส่วนบุคคล บางกรณีมีการรายงาน
               ว่าฝ่ายรัฐบาลจีนสนับสนุนให้มีการเจาะระบบคอมพวเตอร์เพอล้วงข้อมูลด้านทรัพย์สินทางปัญญาของ
                                                              ิ
                                                                      ื่
               ภาคเอกชนสหรัฐ ฯ (Morrison, January 4, 2017, p. 41) ฝ่ายสหรัฐ ฯ รวบรวมข้อมูลเป็นรายงานอย่าง
               ต่อเนื่องจนสรุปได้ว่าการโจรกรรมข้อมูลทางไซเบอร์น่าจะได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายกองทัพของจีนซึ่งก่อการ
               มาตั้งแต่ปี 2006 ส่วนในปี 2013 ที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐ ฯ เสนอให้ทั้งสองประเทศ
               ร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์เพื่อก าหนดมาตรฐานเชิงพฤติกรรมด้านไซเบอร์ ในปีเดียวกันนั่นเอง สหรัฐ ฯ กับจีน

               ตั้งคณะท างานในชื่อ U.S.-China Cyber Working Group เพอหารือประเด็นดังกล่าว และในเดือนกันยายน
                                                                   ื่
               ปี 2015 สหรัฐ ฯ และจีนได้บรรลุข้อตกลงเรื่องความมั่นคงทางไซเบอร์ รัฐบาลของแต่ละฝ่ายจะไม่สนับสนุน
               การโจรกรรมข้อมูลด้านทรัพย์สินทางปัญญา ความลับทางการค้า หรือข้อมูลทางธุรกิจอน ๆ ที่เป็นความลับ
                                                                                         ื่
                  ื่
               เพอผลประโยชน์ทางด้านธุรกิจของเอกชน รวมทั้งตกลงที่จะตั้งเวทีหารือระดับสูงเกี่ยวกับความมั่นคงทางไซ
               เบอร์โดยเฉพาะ ชื่อว่า U.S.-China High-Level Joint Dialogue on Cybercrime and Related Issues ซึ่ง
                                                           ื่
               จะจัดประชุมสองครั้งต่อปี รวมทั้งมีการต่อสายตรงเพอส่งเสริมการสื่อสารทั้งสองทาง (Morrison, January 4,
               2017, pp. 42-43)
               ควำมร่วมมอระหว่ำงสหรัฐอเมริกำและจีนทำงด้ำนเศรษฐกิจ
                         ื
                       การที่จีนเข้ามาเป็นสมาชิกของ WTO ในปี 2001 (Reuter, 15 November 2009) เป็นหลักชัย
               ส าคัญหลักหนึ่งของการผนวกตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของระเบียบโลกใหม่ด้านเศรษฐกิจ ก่อนที่จีนจะมาถึงขั้นนี้ได้
               นั้นต้องผ่านกระบวนการเจรจากับโลกตะวันตกโดยเฉพาะกับสหรัฐ ฯ และปฏิรูปภายในจีนเองนับครั้งไม่ถ้วน
               การผนวกจีนให้เข้ามาในระเบียบโลกใหม่ทางด้านเศรษฐกิจจะเปิดทางให้สหรัฐฯ ใช้กลไกของ WTO ซึ่งคือ

                                                                                              ื้
                                                                                                     ั
               WTO Dispute Resolution Body (DSB) ในการแก้ไขความขัดแย้งทางการค้า กลไกเหล่านี้เออให้จีนพฒนา
                                                                                                     214
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221