Page 221 - thaipaat_Stou_2563
P. 221
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ความร่วมมือระหว่างสหรัฐ ฯ กับจีนในด้านเศรษฐกิจน่าจะประสบความส าเร็จสูงสุด เห็นได้จากการที่จีน
ั
ื่
ยอมรับ และพฒนาศักยภาพตนเองเพอให้ยอมรับกฎเกณฑ์ในระเบียบโลกด้านเศรษฐกิจที่สหรัฐ ฯ วางไว้
ในทางกลับกัน อาจมองได้ว่าส าหรับความร่วมมือด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมแล้ว กลับเป็นสหรัฐ ฯ เองที่
ื่
ยอมรับและพัฒนาตนเองเพอเข้าร่วมกระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ประชาคมโลกด าเนินและผลักดันมานานแล้ว
ี
ในส่วนของความร่วมมือด้านความมั่นคงมีติดขัดอยู่บ้างเนื่องจากเป็นประเด็นที่ละเอยดออนที่สุดในบรรดา
่
ตัวอย่างที่น าเสนอไว้ ในทางทฤษฎีแล้ว ความส าเร็จของความร่วมมืออน ๆ รวมทั้งช่องทางติดต่อสื่อสารและ
ื่
เวทีหารือทวิภาคีพหุภาคีต่าง ๆ จะสร้างบรรยากาศที่ดีและเปิดทางไปสู่ความร่วมมือด้านความมั่นคงที่
ครอบคลุมหลายประเด็นมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม กรอบความร่วมมือเหล่านี้ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากนโยบายของสหรัฐ ฯ ในสมัย
ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ซึ่งเริ่มด ารงต าแหน่งปี 2017 เนื่องจากนโยบายใหม่ไม่ได้ให้ความส าคัญกับความ
ร่วมมือระดับพหุภาคีในการรับมือกับความท้าทายที่มีลักษณะข้ามพรมแดน เช่น การแก้ไขปัญหาการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรอบความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานจึงไม่ได้รับการต่อยอด
นอกเหนือจากการที่สหรัฐ ฯ แสดงความจ านงที่จะถอนตัวออกจากความตกลงปารีส และกลายเป็นประเทศ
เดียวที่ไม่เข้าร่วมความตกลงดังกล่าวแล้ว (Holden, 5 November 2019) คณะท างาน CCWG จัดท า
ื่
รายงานเพอน าเสนอต่อเวทีหารือ S&ED เป็นฉบับสุดท้ายในปี 2016 (U.S. State Department, 2017)
ั
การประชุมสุดยอดผู้น าสหรัฐฯ – จีน เมืองคาร์บอนต่ าและเท่าทนต่อภูมิอากาศครั้งที่สามซึ่งมีแผนจะจัดที่เมือง
บอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 2017 แต่สุดท้ายก็ไม่ได้จัด (Murray, 31 May 2017) นอกจากนี้ บาง
ึ่
กรอบความร่วมมือกลายเป็นความขัดแย้ง เช่น ความร่วมมือและการพงพาทางเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐ ฯ กับ
จีนกลายเป็นสงครามการค้า ประธานาธิบดีทรัมป์เลือกที่จะประกาศตั้งก าแพงภาษีส าหรับสินค้าน าเข้าจากจีน
้
โดยอางว่าเป็นการกดดันให้จีนรีบด าเนินการแก้ปัญหาละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาต่อสินค้าของสหรัฐฯ ซึ่งถือ
เป็นการละเมิดวัตถุประสงค์และหลักการพนฐานของ WTO ที่ต้องการผลักดันการค้าเสรีเป็นธรรม และลด
ื้
ิ
ิ
อปสรรคทางการค้า และข้อพพาททางการค้าลักษณะนี้ควรแก้ไขผ่านกลไกระงับข้อพพาทของ WTO (มาร์ค
ุ
เจริญวงศ์, 6 ตุลาคม 2018) แม้ที่ผ่านมา เมื่อสหรัฐ ฯ ยื่นข้อร้องเรียนผ่านกลไกของ WTO นั้น สหรัฐ ฯ จะ
เป็นฝ่ายชนะเป็นส่วนใหญ่ก็ตาม (Swanson, 6 December 2019)
เอกสำรอ้ำงอิง
-
FACT SHEET :U.S .China Cooperation on Climate Change) .2016, September 3 .(Retrieved
from The White House, Office of the Press Secretary :
https//:obamawhitehouse.archives.gov/the-press-office/2016/09/03/fact-sheet-us-china-
cooperation-climate-change-0
Harvard Project on Climate Agreements. (2016, February). Bilateral Cooperation between
China and the United States: Facilitating Progress on Climate-Change Policy.
Retrieved from Belfer Center for Science and International Affairs, Harvard Kennedy
School of Government:
https://www.belfercenter.org/sites/default/files/files/publication/harvard-nscs-paper-
final-160224.pdf
219