Page 251 - thaipaat_Stou_2563
P. 251

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓




               “เบื้องบน” จะมุ่งกระจายอานาจมากกว่ารัฐธรรมนูญที่เกิดขึ้นจากการเรียกร้องจาก “เบื้องล่าง” หรือไม่
               อย่างไร

                       บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นในตัวบทรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับข้างต้น  โดยมุ่งจุด


               สนใจ (focus) ไปที่การกระจายอานาจว่ามีทิศทางที่จะจัดสรรอานาจจากส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคสู่ส่วนท้องถิ่น


               มากขึ้นหรือน้อยลงอย่างไร โดยจะวิเคราะห์ใน 3 มิติส าคัญ คือ 1. อานาจ หน้าที่ และงบประมาณ 2. การ
               ได้มาซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 3. การตรวจสอบจากภาครัฐและภาคประชาชน ทั้งนี้โดยวิเคราะห์
               บทบัญญัติในหมวดการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นด้านหลัก และบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องเป็นด้านรอง โดยมีแนวคิด
               รัฐธรรมนูญนิยมและแนวคิดเรืองการกระจายอ านาจในความหมายอย่างกว้างเป็นกรอบคิดพื้นฐานในการวิจัย
               วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
                       1. เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงของการกระจายอ านาจสู่ท้องถิ่นในรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับ

                       2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการเมืองอันเป็นที่มาของรัฐธรรมนูญกับการพฒนา
                                                                                              ั
               ประชาธิปไตยผ่านการประเด็นเรื่องการกระจายอ านาจสู่ท้องถิ่น
               กำรทบทวนวรรณกรรมและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
                       แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม (constitutionalism) เป็นกรอบคิดที่วางหลักการว่า การมีกฎหมาย

               รัฐธรรมนูญซึ่งเป็นลายลักษณ์อกษรจะเป็นเครื่องประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนภายในรัฐ และเป็นเสมือน
                                         ั
               สัญญาประชาคมระหว่างรัฐกับประชาชนของตน รวมทั้งเป็นเครื่องมือส าคัญที่สุดประการหนึ่งในการออกแบบ
               โครงสร้างทางการเมืองทั้งปวงภายในรัฐหนึ่ง ดังนั้น รัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์นี้เป็นกฎหมายสูงสุดที่

               กฎหมายอื่นจะขัดหรือแย้งกับไม่ได้ (อรพรรณ ลีนะเปสันท์, 2551, 14)
                       รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อกษรปีพ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550 และพ.ศ. 2560 ได้มีบทบัญญัติว่าด้วยการ
                                           ั
               ปกครองส่วนท้องถิ่นไว้อยากกว้างขวางเพราะได้แยกเรื่องนี้ออกเป็นหมวดหนึ่งเป็นการเฉพาะ อีกทั้งยังได้
               บัญญัติประเด็นดังกล่าวเอาไว้ในหมวดส าคัญอนๆ ด้วย รัฐธรรมนูญทั้ง 3 ฉบับจึงได้ให้หลักประกันและวาง
                                                      ื่
               กรอบโครงในการปกครองในระดับท้องถิ่นไว้แล้ว เมื่อเป็นเช่นนี้จึงไม่อาจมีกฎหมายอนๆ ขัดหรือแย้งกับ
                                                                                         ื่
               บทบัญญัติดังกล่าวแต่ได้อย่างใด ดังนั้น การศึกษาเปรียบเทียบบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญทั้ง 3 ฉบับจึงน่าจะท า
               ให้เห็นพัฒนาการของการกระจายอานาจได้ไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะในระดับการวางโครงร่างทางความคิดและ

               สถาบันของการกระจายอ านาจ ทั้งนี้ ควรกล่าวเอาไว้ในที่นี้ว่า แนวคิดเรื่องการกระจายอ านาจที่ใช้ในงานวิจัยนี้

               เป็นแนวคิดเรื่องการกระจายอ านาจในความหมายอย่างกว่าง คือ หมายถึงทั้งการกระจายโอกาสและทรัพยากร

               การมอบอานาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ การจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งการบริหารงานบุคคลให้แก่องค์กร
               ปกครองส่วนท้องถิ่น (โปรดดู ชาติชาย ณ เชียงใหม่, 2560, 33-34)
                       เมื่อลองส ารวจวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พบว่า จนถึงปัจจุบันมีงานศึกษาที่เปรียบเทียบการกระจาย


                                              ี
               อานาจในรัฐธรรมนูญทั้ง 3 ฉบับเพยงหนึ่งชิ้น คือ บทความ “รัฐธรรมนูญไทยสู่การปฏิวัติการบริหารงาน
               ท้องถิ่นไทย” ของพระเฉลิมวุฒิ จิตตสวโร และธิติวุฒิ หมั่นมี ซึ่งชี้ว่าการกระจายอานาจในรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

               2560 นั้น “ถอยหลัง” ลงเมื่อเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า ใน 3 ประเด็นคือ รัฐธรรมนูญ 60
               ลดอานาจการปกครองส่วนท้องถิ่นให้เหลือแค่การจัดท าบริการสาธารณะ ไม่มีการก าหนดวาระของผู้บริหาร

               ส่วนท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการท างานของสมาชิกท้องถิ่นลดลงอย่างเห็นได้
               ชัด (พระเฉลิมวุฒิ จิตฺตส วโร และธิติวุฒิ หมั่นมี, 2561, 134-135) อย่างไรก็ดีเป็นที่น่าเสียดายที่บทความ
               ดังกล่าวไม่ได้วิพากษ์ตัวบทรัฐธรรมนูญทึ้ง 3 ฉบับอย่างจริงจัง จึงไม่เห็นพัฒนาการว่าการ “ถอยหลัง” ดังกล่าว
               เป็นการถอยหลังจากจุดใด การกระจายอานาจในรัฐธรรมนูญฉบับใด “ก้าวหน้า” มากที่สุด ที่ส าคัญคือ

                                                                                               ี
               บทความยังดูเหมือนจะพจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญทั้ง 3 ฉบับในเพยงมาตราเท่านั้น อกทั้งยังไม่ได้
                                     ิ
                                                                               ี
                                                                                                     249
   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256