Page 254 - thaipaat_Stou_2563
P. 254

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีส่วนร่วมในการก าหนดแนวทางการด าเนินงานด้านการส่งเสริม
               บ ารุงรักษา และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม)


                                     2.2.3 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 12 กำรตรวจสอบกำรใช้อำนำจรัฐ” จ านวน 4
               มาตรา ได้แก่ มาตรา 259 และ 260 (การแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง
               และคู่สมรสฯ) มาตรา 265 และ 266 (การกระท าที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์)
                       3. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560

                              รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง
               ส่วนท้องถิ่นอยู่ใน 11 มำตรำ โดยเป็นบทบัญญัติใน “หมวดที่ 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น” (อนเป็นหมวด
                                                                                                ั
               หลักของเรื่องการกระจายอ านาจสู่ท้องถิ่น) จ านวน 6 มาตรา
                              3.1 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 14 กำรปกครองส่วนท้องถิ่น” จ านวน 6 มาตรา ได้แก่

                                     มำตรำ 249 (ให้มกำรจัดกำรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใต้มาตรา 1 ของ
                                                       ี
               รัฐธรรมนูญ โดยยึดหลักความสามารถในการปกครองตนเองในด้านรายได้ จ านวนและความหนาแน่นของ
               ประชากร พื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบ) มำตรำ 250 (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอ านาจดูแลและจัดท า
               บริหารสาธารณะ สนับสนุนการศึกษา) มำตรำ 251 (การบริหารงานบุคคลให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ)

               มำตรำ 252 (ก าหนดให้มีสภาท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้ง ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งหรือมาจากความ
               เห็นชอบจากสภาท้องถิ่นก็ได้คณะผู้บริหำรท้องถิ่นรูปแบบพิเศษให้มำโดยวิธีอื่นได้) มำตรำ 253 (ให้องค์กร
               ปกครองส่วนท้องถิ่นเปิดเผยข้อมูลและรายงานผลการด าเนินการด าเนินงานให้ประชาชนทราบ) มำตรำ 254

               (การเข้าชื่อถอดถอนผู้ด ารงต าแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามกฎหมายหลักเกณฑ์ วิธีการ
               และเงื่อนไขที่กฎหมายก าหนด)
                              3.2 บทบัญญัติในหมวดอื่นๆ
                                     3.2.1 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 3 สิทธิเสรีภำพของปวงชนชำวไทย” จ านวน 1
               มาตรา คือ มาตรา 43 (ในวรรค 4 สิทธิในในการที่บุคคลสามารถร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐใน

               การอนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรมฯ)
                                     3.2.2 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 5 หน้ำที่ของรัฐ” จ านวน 2 มาตรา ได้แก่ มำตรำ
               54 (รัฐต้องด าเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี) มำตรำ 57 (รัฐต้องอนุรักษ์ ฟนฟ และ
                                                                                                     ู
                                                                                                  ื้
               ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น)
                                     3.2.3 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 6 แนวนโยบำยพื้นฐำนแห่งรัฐ” จ านวน 2 มาตรา
               ได้แก่ มาตรา 76 (วรรค 1 รัฐต้องพึงพัฒนาการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วน
               ท้องถิ่น...ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ) และมาตรา 78 (รัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและ

                                                                                  ั
               ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
               ประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ การจัดท าบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและในระดับท้องถิ่นฯ)
                       จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่ารัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการปกครองส่วน
               ท้องถิ่นที่ทั้งเหมือนและแตกต่างกันออกไป ในส่วนนี้จะวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างใน 3 มิติเพอ
                                                                                                        ื่


               จะชี้ให้เห็นว่าการกระจายอานาจในรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีทิศทางที่จะจัดสรรอานาจจากส่วนกลาง ส่วน
               ภูมิภาคสู่ส่วนท้องถิ่นมากขึ้นหรือน้อยลง หรือไม่ อย่างไร
                       อ ำนำจ หน้ำที่และงบประมำณ
                       ในด้านของอานาจ หน้าที่ และงบประมาณจะเห็นว่า รัฐธรรมนูญฉบับ 2540 และ 2550 ได้เน้น

                           ิ
               ความเป็น “อสระ” ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการก าหนด “นโยบาย” การบริหารงาน กิจการ
                                                                                                     252
   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259