Page 276 - thaipaat_Stou_2563
P. 276

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓







               กรอบแนวคิดของกำรศึกษำ

                                    ตัวแปรอิสระ


                   กำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำร
                   แก้ไขปัญหำยำเสพติด

                                                                                                                   ตัวแปรตำม
                   1. การมีอ านาจในการตัดสินใจของ
                   ประชาชน                                              กำรพัฒนำกำรมีส่วนร่วมของประชำชน


                   • การลงประชามติ                                      ในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติด
                               ื
                   2. ความร่วมมอในกระบวนการของการ                       1. คุณภาพการตัดสินใจของประชาชนใน
                   ตัดสินใจร่วมกัน                                      การจัดการกับปัญหายาเสพติดของชุมชน

                   • ประชาชนและองค์กรปกครองส่วน
                                                                        2. กระบวนการของชุมชนในการแก้ไข
                   ท้องถิ่นมีการตัดสินใจร่วมกัน                         ปัญหายาเสพติด

                   3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน                    3. การสร้างการยอมรับในการมีส่วนร่วม

                   • การประชุมเชิงปฏิบัติการ                            ของประชาชน

                   4. การมีส่วนร่วมในการรับฟังความ                      4. การสร้างความสัมพนธ์ระหว่างผู้บริหาร
                                                                                           ั
                   คิดเห็น

                                                                        ท้องถิ่นกับประชาชน
                   • การประชุมสาธารณะ

                   5. การมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสาร

                   • การประชาสัมพันธ์


                                             ภำพที่ 1 กรอบแนวคิดของการศึกษา



                     ที่มำ: พัฒนาจาก IAP2 อ้างใน อรทัย ก๊กผล (2552: 23) และพรรณทิพา แอดา (2549: 51)


               ระเบียบวิธีวิจัย
                       การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานคือ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ (Patricia

               Burch & Carolyn J. Heinrich, 2016: 2-5) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชน
               ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรีทั้งหมด 7 หมู่บ้านมีอายุตั้งแต่ 20- 60 ปี  ทั้งหมด
                                                                                                ั
               จ านวน 9,523 คน โดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ (Yamane, 1967 อ้างใน สุจิตรา บุณยรัตพนธ์, 2558:
               177) ได้กลุ่มตัวอย่างจ านวน 383 คน มีความคลาดเคลื่อน 0.05 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิหาสัดส่วน

               ตามขนาดของประชากรในแต่ละหมู่บ้าน แล้วจึงเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอญ การวิจัยเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูล
                                                                               ิ
               จากการสัมภาษณ์ คือ ก านันและผู้ใหญ่บ้านจ านวน 7 คน เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่
               ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามเป็นข้อค าถามแบบเลือกตอบแบ่งเป็น 5 ระดับ การตรวจสอบเครื่องมือจาก

                                                                                                     274
   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281