Page 278 - thaipaat_Stou_2563
P. 278
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี” มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติด ในเทศบาลต าบลนาป่า อ าเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนมี
ส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อท าการพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า
ั
ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจประชาชนมีส่วนร่วมมากที่สุด อนดับต่อมาคือ ด้านการมีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับประโยชน์ ล าดับสุดท้ายคือ ด้านการมีส่วนร่วมในการ
ประเมินผล
2. ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
̅
ได้แก่ ปัจจัยด้านการมีอ านาจในการตัดสินใจของประชาชน ( = 3.49) ด้านความร่วมมือในกระบวนการของ
̅
̅
การตัดสินใจร่วมกัน ( = 3.52) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน ( = 3.41) ด้านการมีส่วนร่วมใน
̅
̅
การรับฟังความคิดเห็น ( = 3.50) และด้านการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสาร ( =3.47) ผลการทดสอบ
สมมติฐานการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในเขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ
อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรีแตกต่างกันอย่างมีนัยยะส าคัญที่ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน
ั
3. ผลการศึกษาแนวทางการพฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ใน
เขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะแนวทางในการพฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ใน
ั
เขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มี 5 ด้าน คือ
1) ด้านการมีอานาจในการตัดสินใจของประชาชน คือ การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความ
คิดเห็นในการมีอานาจในการตัดสินใจอย่างแท้จริงในการหาทางแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด มีความ
สอดคล้องกับนรินทร์ชัย พฒนพงศา (2538: 13-19) อธิบายว่า การมีส่วนร่วมเป็นเปิดโอกาสให้ประชาชน
ั
และกลุ่มต่างๆได้เข้ามามีส่วนร่วมในการด าเนินการของชุมชน การมีส่วนร่วมต้องตรงกับความต้องการที่แท้จริง
ของประชาชน
2) ด้านความร่วมมือในกระบวนการของการตัดสินใจ คือ ประชาชนมีการเข้าร่วมประชุมเป็นการ
ตัดสินใจเพอน าไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ดีมากยิ่งขึ้น สอดคล้องกับณรัชช์อร (ณัฐนรี) ศรีทอง (2554: 116 -
ื่
117) อธิบายถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนว่า เป็นการด าเนินการร่วมกัน เพื่อให้เกิดความส าเร็จโดยเป็นการ
ท างานร่วมกันของผู้รับผิดชอบโครงการและประชาชน
3) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรม คือ ควรสนับสนุนให้มีกิจกรรมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
สอดคล้องกับ โกวิทย์ พวงงาม (2553: 55-56) กล่าวไว้ว่า การมีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรม
(Implementation) เป็นการให้การสนับสนุนการประสานงาน การบริหาร รวมทั้งการใช้ทรัพยากรด้านก าลัง
พลและปัจจัยในด้านต่างๆ
ั
ิ่
4) ด้านการมีส่วนร่วมในการรับฟงความคิดเห็น ควรเพมช่องทางในการแสดงความคิดเห็น เช่น ตู้
แสดงความคิดเห็น เทศบาลต้องสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามาแสดงความคดเห็นและรับฟังข้อมูลจากประชาชน
ิ
ื่
เพอน าไปปรับปรุงแก้ไข สอดคล้องกับสนทยา พลศรี (2547: 172-173) อธิบายว่า การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนท าให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นผ่านการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างประชาชนกับทางราชการ
ั
5) ด้านการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสาร คือ ควรมีการประชาสัมพนธ์ผ่านระบบออนไลน์และ
ช่องทางอนๆให้มากขึ้น และให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเผยแพร่ข้อมูล สอดคล้องกับเจิมศักดิ์ ปิ่น
ื่
276