Page 280 - thaipaat_Stou_2563
P. 280
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภำพชีวิตประชำชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงกำรหลวงจังหวัดเชียงใหม่
72
ภควรรณ ไชยป๋าน
รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ 2
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของ
โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการ
หลวงจังหวัดเชียงใหม่ และ (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของ
โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงส ารวจแบบผสมผสานการวิจัยเชิงปริมาณกับการวิจัยเชิงเชิงคุณภาพ
ประชากรคือประชาชนที่อาศัยอยู่เขตในชุมชนบนพื้นที่สูงในโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ และเกี่ยวข้องกับการน า
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน าไปประยุกต์ใช้ร่วมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในโครงการหลวง จ านวน 27 แห่ง
15 อาเภอ มีจ านวน 117,693 คน กลุ่มตัวอย่างจ านวน 399 คน ได้จากการค านวณโดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่
และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิในการคัดเลือกตัวแทน ส าหรับผู้ใหข้อมูลส าคัญโดยการสัมภาษณ์เป็นเจ้าหน้าที่
้
โครงการหลวงหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการหลวง จ านวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็น
แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณแบ่งเป็น 2 วิธี ได้แก่ (1) สถิติเชิงพรรณนาใช้
การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ (2) สถิติเชิงอนุมาน น ามาใช้ในการทดสอบ
สมมติฐาน ใช้การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้
เทคนิคสวอท เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัยในการหาข้อสรุปร่วมเพื่อการเสนอแนะ
ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัด
เชียงใหม่ อยู่ในระดับมาก และไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80 (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่
สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ปัจจัยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปัจจัยจูงใจ และ (3)
ข้อเสนอแนะที่ส าคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ คือ
ประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ควรสร้างร่วมมือกับเครือข่ายความช่วยเหลือ จาก
สถาบัน หน่วยงานต่าง ๆ และเชื่อมโยงประชาชนในชุมชนเพื่อเรียนรู้องค์ความรู้จากศูนย์หรือโครงการต่าง ๆ ของ
โครงการหลวงโดยการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนเข้าไว้ด้วยกัน ด้วยสภาพพื้นที่สูงมีความหลากหลายด้าน
สังคมและวัฒนธรรม ประเพณี ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชน มีการเชื่อมโยงน าความรู้และอุปกรณ์ เทคโนโลยีใหม่ๆ
่
ไปผสมผสานและปรับใช้ใหเหมาะสมกับสภาพของชุมชนบนพื้นที่สูงในแต่ละแหงโดยค านึงถึงหลักของวิถีชีวิตดั้งเดิม
้
ของประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูง รวมถึงการน างานวิจัยและพัฒนาจากโครงการหลวงมาประยุกต์ใช้ในชุมชนบน
พื้นที่สูง ใหความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหชุมชนได้มีความเข้าใจและมีส่วนร่วม
้
้
ในการพัฒนา และสร้างรายได้ให้ตนเอง
72 นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2 เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ สาขาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
278