Page 277 - thaipaat_Stou_2563
P. 277
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้ค่า IOC เท่ากับ 0.88 และน ามาตรวจสอบโดยวิเคราะห์การหาค่าสัมประสิทธิ์อลฟา
ั
แบบครอนบาค (Cronbachs’Alpha) (ด ารงค์ วัฒนา, 2557: 104) ได้เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ สถิติเชิงบรรยาย คือ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
ิ
้
สถิติเชิงอางอง เป็นการทดสอบสมมติฐานโดยการใช้ f- test ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้จากการ
สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเกี่ยวกับแนวทางใช้การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหาปัญหา
ยาเสพติด โดยการวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย (สุภางค์ จันทวานิช, 2561: 144-145)
ผลกำรวิจัย
1. จากผลการศึกษาพบว่า ประชาชนมีความต้องการให้หน่วยงานทางราชการเปิดโอกาสให้ประชาชน
้
เข้ามามีส่วนร่วมในการแกไขปัญหายาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ประชาชนทุกคนต้องให้ความส าคัญกับปัญหายาเสพ
ติด และช่วยกันสอดส่องดูแลไม่ให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติด
2. การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในเขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ
ิ
อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรีในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพจารณาเป็นรายด้านพบว่าในภาพรวมอยู่ใน
ระดับปานกลางทุกด้าน โดยล าดับแรกคือ ด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารท้องถิ่นกับประชาชน
̅
̅
( = 3.46) คุณภาพการตัดสินใจของประชาชน ในการจัดการกับปัญหายาเสพติดของชุมชน( = 3.46)
̅
รองลงมาคือการสร้างการยอมรับในการมีส่วนร่วมของประชาชน ( = 3.44) และกระบวนการของชุมชนใน
̅
ั
การแก้ไขปัญหายาเสพติด ( = 3.34) ตามล าดับ และผลการทดสอบสมมติฐานระดับการพฒนาการมีส่วน
ร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในเขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดย
การใช้สถิติ f-test ได้ค่า Sig (1- tailed) เท่ากับ 0.00 มีค่าน้อยกว่า 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน HO
และยืนยันสมมติฐาน Ha ท าให้สรุปผลได้ว่า ระดับการพฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหา
ั
ยาเสพติด ในเขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรีแตกต่างกนอย่างมีนัยยะส าคัญที่ 0.05 ซึ่ง
ั
เป็นไปตามสมมติฐาน
ั
3. ข้อเสนอแนะแนวทางในการพฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ใน
เขตเทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ได้แก่ 1) ด้านการมีอ านาจในการตัดสินใจของประชาชน
คือ ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นในการมีอานาจในการตัดสินใจมากขึ้น และเป็นการ
ตัดสินใจที่มาจากประชาชน 2) ด้านความร่วมมือในกระบวนการของการตัดสินใจ คือ ควรเปิดโอกาสให้
ประชาชนตัดสินใจได้อย่างเต็มที่ หน่วยงานทางราชการเป็นผู้สนับสนุน 3) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
หน่วยงานทางราชการควรส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมที่สร้างสรรค์ให้ชุมชน ต้องมีการจัดกิจกรรมเป็นประจ า
ั
และมีความต่อเนื่อง 4) ด้านการมีส่วนร่วมในการรับฟงความคิดเห็น ควรมีการจัดตั้งหน่วยงานหรือศูนย์ที่
ั
รับผิดชอบในการรับฟงปัญหาและมีแนวทางแก้ไขยาเสพติด 5) ด้านการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสาร คือ
ควรมีการเพิ่มช่องทางการประชาสัมพนธ์การแก้ไขปัญหายาเสพติดผ่านระบบออนไลน์
ั
อภิปรำยผลกำรศึกษำ
1. ผลการศึกษาพบว่า การพฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในเขต
ั
เทศบาลต าบลห้วยกะปิ อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรีในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยด้านการสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารท้องถิ่นกับประชาชนมีความคิดเห็นสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการสร้างการยอมรับ
ในการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้านการสร้างการยอมรับในการมีส่วนร่วมของประชาชน และกระบวนการของ
ชุมชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามล าดับ มีความสอดคล้องกับงานวิจัยของจุลศักดิ์ บุญแดง (2558) ได้
ท าการวิจัยเรื่อง “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเทศบาลต าบลนาป่า
275