Page 283 - thaipaat_Stou_2563
P. 283
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
บทน ำ
ั
ในปัจจุบันทั่วโลกมีความตื่นตัวและมุ่งให้ความส าคัญต่อการพฒนาประเทศตนให้ทันต่อการ
ั
เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งตัวชี้วัดของการพฒนาประเทศอย่างเป็นรูปธรรมที่ผ่านมานั้นอาจ
มุ่งเน้นในเรื่องของความเจริญทางด้านวัตถุ และรายได้ของประชาชนในประเทศที่สูงขึ้น อนจะเป็นผลให้ระบบ
ั
ุ
เศรษฐกิจมีความคล่องตัว การมีสภาพแวดล้อมที่ดีรวมไปถึงการที่ประเทศนั้นๆ มีทรัพยากรธรรมชาติที่อดม
ั
สมบูรณ์ หรือการมีวัฒนธรรมและประเพณีอนดีงามที่สืบทอดกันมา แต่สิ่งส าคัญที่สามารถแสดงถึงความ
ั
เจริญก้าวหน้าในการพฒนาประเทศได้อย่างชัดเจนที่สุด คือการที่ประชาชนในประเทศมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ั
ประเทศไทยจึงให้ความส าคัญต่อการพฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งมีกรอบ
หลักการของการวางแผนที่น้อมน าและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของ
การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน ให้ความส าคัญกับการก าหนดทิศทางการพัฒนาที่
จะลดปัญหาความเหลื่อมล้ าระหว่างกลุ่มคน ความเหลื่อมล้ าด้านรายได้ โอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ และ
ั
การเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ และเป็นอปสรรคต่อการพฒนาประเทศที่ลดทอนความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
ุ
และความมั่นคงทางสังคม จากการกระจายรายได้และผลประโยชน์ของการพัฒนาไปยังกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม
ื้
บางพนที่และบางสาขาการผลิตไม่ทั่วถึงเป็นธรรม ผลประโยชน์ส่วนใหญ่ตกอยู่ในกลุ่มที่มีโอกาสและรายได้สูง
คนยากจนขาดโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาและสาธารณสุขที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม การแย่งชิง
ทรัพยากร การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ปัญหาอาชญากรรม และปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะเขตพนที่ภาคเหนือที่
ื้
เป็นหลักพื้นในการปลูกฝิ่น
ั
จากปัญหาที่พบ รายงานการพฒนาคนของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2552 ได้ชี้ให้เห็นว่าคุณภาพชีวิต
ั
ของประชาชนในภาคเหนือตอนบน โดยรวมอยู่ในระดับไม่น่าพอใจ (โครงการพฒนาแห่งสหประชาชาติ,
2552) และในปี พ.ศ. 2554 ได้มีตัวชี้วัดความจ าเป็นขั้นพื้นฐานที่ยังไม่บรรลุถึงเป้าหมายถึง 22 ตัวชี้วัด จาก
่
ี
42 ตัวชี้วัด มีจังหวัดแม่ฮองสอน เชียงใหม่ และพะเยา อกทั้งมีจ านวนของครัวเรือนที่ยังตกเกณฑ์รายได้ของ
เกณฑ์จปฐ. (23,000 บาท ต่อคนต่อปี) ซึ่งมีมากที่สุดเป็นอนดับที่ 1 5 และ 6 ของประเทศ ผลการประเมิน
ั
ื้
คุณภาพชีวิตประชาชนในภาคเหนือตอนบนข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ตัวชี้วัดความจ าเป็นขั้นพนฐานที่ยังไม่บรรลุ
ถึงเป้าหมายถึง 22 ตัวชี้วัด ท าให้ผู้วิจัยมีความเห็นว่า คุณภาพชีวิตประชาชนในภาคเหนือยังขาดการติดตาม
ั
ื่
ประเมินผลและปรับปรุงพฒนาในส่วนที่ไม่บรรลุเป้าหมายเท่าที่ควร รวมถึงยังไม่มีหน่วยที่วางแผนเพอศึกษา
ื้
ปัญหาและการปรับปรุงกระบวนการด าเนินการในการพฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนบนในชุมชนบนพนที่
ั
ั
สูงโครงการหลวงอย่างเป็นรูปธรรม และศูนย์พฒนาโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์แรกในการจัดตั้ง
ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง และถือเป็นศูนย์ต้นแบบของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุกแห่ง เนื่องจากศูนย์พฒนา
ั
โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่นั้นมีศูนย์เรียนรู้ที่รวบรวมองค์ความรู้ที่เหมาะสมต่อสภาพภูมิคุ้มกันทางสังคม
บนพนที่สูง และมีสถานีวิจัยครบวงจรกระจายอยู่ตามศูนย์ต่างๆ ของในแต่ละพนที่จึงเรียกได้ว่าศูนย์พฒนา
ื้
ั
ื้
โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่นั้นเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้โครงการหลวงในการพัฒนาพื้นที่สูง
ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงการติดตามและประเมินผลคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชน
ื้
บนพนที่สูงของโครงหลวงจังหวัดเชียงใหม่ดังกล่าว กอปร์กับการน าปัจจัยที่ส่งผลและเกี่ยวข้องมาเป็นตัวแปร
ื้
ในการศึกษาประกอบ เพอเป็นพนที่น าร่องในการวางแผนติดตามผลการด าเนินการและการปรับปรุง
ื่
กระบวนการด าเนินการในพฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนบนในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงในจังหวัด
ั
ื้
อื่นๆ ต่อไป
281