Page 33 - thaipaat_Stou_2563
P. 33

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                                          ี
               แผนการให้บริการก็ยังไม่เป็นระบบและรูปแบบที่ดีพอส่งผลให้เกิดประโยชน์แก่ผู้สูงอายุเพยงบางกลุ่มเท่านั้น
               ไม่สามารถกระจายได้ทั่วถึงและตอบสนองต่อความต้องการแท้จริงของผู้สูงอายุบริการต่าง ๆ ที่จัดขึ้นยังมี

               ลักษณะไม่กระจายตัว การด าเนินงานในส่วนขององค์การภาครัฐหรือเอกชนค่อนข้างจะจ ากัดทั้งในด้านปริมาณ
               และรูปแบบ การให้บริการแก่ผู้สูงอายุจึงยังไม่สามารถบริการได้อย่างทั่วถึงและไม่สามารถตอบสนองต่อปัญหา
                                                                ี
               และความต้องการของผู้สูงอายุอย่างแท้จริง (สุชรินทร์ พรยานันท์ และไพโรจน์ ภัทรนรากุล, 2559: 60)
               สอดคล้องกับ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และคณะ (2561: 105) ที่กล่าวว่า ผู้สูงอายุด้อยโอกาสยังเข้าไม่ถึง

                                                                                                  ี
               สวัสดิการสังคมตามนโยบายที่รัฐจัดให้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะบริการสุขภาพ เบี้ยยังชีพไม่เพยงพอต่อ
                                                      ี
               การยังชีพขาดหลักประกันด้านรายได้เพราะไม่มอาชีพ นโยบายกู้ยืมเงินกองทุนผู้สูงอายุเพื่อประกอบอาชีพเพม
                                                                                                        ิ่
               รายได้ให้ผู้สูงอายุด้อยโอกาสในเมืองมากกว่าชนบท นโยบายที่ด าเนินการโดยรัฐขาดการติดตามผลการ
               ด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง สวัสดิการบางส่วนซ้ าซ้อนท าให้รับสวัสดิการสังคมทั้งแง่มากเกินจ าเป็นและน้อยกว่า

               จ าเป็น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับได้รับการเสนอแนะจากหลายการศึกษาว่าควรทบทวนและปรับปรุง 2) ผู้สูงอายุ
               ที่เป็นแรงงานในระบบส่วนใหญ่มีปัญหาจากการได้รับค่าตอบแทนน้อยร้อยละ 59.4 รองลงมา เป็นงานที่ท า
               แล้วไม่ได้รับการจ้างต่อเนื่อง ร้อยละ 14.5 การท างานหนัก ร้อยละ 14.0 ไม่มีสวัสดิการร้อยละ 4.2 เป็นต้น
               ส าหรับผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานนอกระบบ ส่วนใหญ่มีปัญหาการได้รับค่าตอบแทนน้อยเช่นเดียวกัน ร้อยละ

               48.5 รองลงมาเป็นการท างานหนักร้อยละ 24.1 งานที่ท าไม่ได้รับการจ้างที่ต่อเนื่องร้อยละ 13.8 ไม่มี
               สวัสดิการ ร้อยละ 6.0 ไม่มีวันหยุดร้อยละ 4.9 และท างานไม่ตรงตามเวลาปกติร้อยละ 1.7 (พภัสสรณ์ วร
               ภัทร์ถิระกุล, ม.ป.ป.) 3) ลักษณะนโยบายของผู้สูงอายุขาดการบูรณาการและขาดความต่อเนื่องในการน า

               นโยบายสู่การปฏิบัติ ขาดแคลนงบประมาณและบุคลากร 4) ด้านการรับรู้สิทธิของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
               ขาดการรับรู้และขาดความเข้าใจในสิทธิของตนและการจัดบริการที่ภาคประชาชนไม่มีส่วนร่วมท าให้ไม่ได้รับ
                         ื
               ความร่วมมอ (วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และคณะ, 2561: 98) โดยสรุปปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในประเทศไทย
               เกิดจากปัญหาทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ ความรู้ สังคม สังคม จิตใจ ครอบครัว และค่านิยมที่เปลี่ยนแปลงไป
               ผู้สูงอายุตกอยู่ในสภาพที่ต้องการผู้ดูแล สมาชิกของครอบครัว จึงต้องเข้ามามีบทบาท แต่ในสถานการณ์

               ปัจจุบันโครงสร้างของครอบครัวได้ เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตโดยมีขนาดครัวเรือนลดลง ท าให้ครอบครัวมีความ
               อ่อนแอจนไม่สามารถดูแล (กัญญาณัฐ ไฝค า, 2561: 21)
                                                  ื่
                                                        ั
                       2. แนวทางการจัดสวัสดิการเพอการพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ พบว่า 1) ควรมีการจัดตั้ง
               หน่วยงานเฉพาะที่ท าหน้าที่ดูแลงานด้านผู้สูงอายุ 2) การจัดสวัสดิการส าหรับผู้สูงอายุควรให้ความส าคัญกับ
               การมีสุขภาพอนามัยที่ดี การมีการศึกษาที่ดี การมีที่อยู่อาศัย การมีงานท า การมีรายได้ และการมีสวัสดิการ
               แรงงาน การมีความมั่นคงทางรายได้ นันทนาการ และการบริการสังคมทั่วไป สอดคล้องกับ ภาณุวัฒน์ มีชะนะ
               และคณะ (2560: 259) ที่ระบุว่าควรส่งเสริมในเรื่องรายได้ของประชากรก่อนวัยสูงอายุ ได้แก่ การฝึกอาชีพ

               เสริม การเรียนรู้การประกอบอาชีพที่ถูกต้อง และประชากรก่อนวัยสูงอายุควรหาอาชีพเสริมท าก่อนเข้าสู่วัย
               สูงอายุ ฝากเงินไว้กับธนาคารเป็นประจ า ตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่
               วัยสูงอายุ โดยสรุปคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ประกอบด้วยปัจจัย 4 ด้าน คือ การมีความผาสุกทางด้านจิตใจ
               (Psychological Well-Being) ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม (Behavioral Competence) สิ่งแวดล้อม

               ของบุคคล (Objective Environment) และการรับรู้คุณภาพชีวิต (Perceived Quality of  Life)
               (Rojanadhamkul, 2018: 229) ในขณะที่ Srithanee (2017: 290) ระบุเพิ่มเติมว่า อายุ ระดับการศึกษา
               และสถานภาพสมรสมีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 3) รัฐบาลควรให้ความช่วยเหลือแก่องค์กรที่มีการจ้างงาน
                                                                                       ั
               ผู้สูงอายุด้วยการพจารณามาตรการต่าง ๆ เช่น การลดหย่อนภาษี การส่งเสริมการพฒนาเครื่องจักรหรือ
                               ิ
               สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับการท างานของผู้สูงอายุ การเลื่อนการเกษียณอายุ เป็นต้น (Zhang & Zhao,

                                                                                                       31
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38