Page 284 - thaipaat_Stou_2563
P. 284
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่
ิ
ื่
ื้
2. เพอศึกษาปัจจัยที่มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวง
จังหวัดเชียงใหม่
3. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวง
จังหวัดเชียงใหม่
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ื้
ในการวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวง
ิ
จังหวัดเชียงใหม่ มีแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องประกอบไปด้วย แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต แนวคิด
ทฤษฎีเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิด ทฤษฎีแรงจูงใจ
1. แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับคุณภำพชีวิต
คุณภาพชีวิต หมายถึง ชีวิตของบุคคลที่สามารถด ารงชีวิตอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างเหมาะสมไม่เป็น
ภาระและไม่ก่อให้เกิดปัญหากับสังคมที่เป็นชีวิตที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สามารถด ารงชีวิตที่ชอบ
ธรรมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ค่านิยมของสังคม สามารถแก้ไขปัญหา ตลอดจนการแสวงหาสิ่งที่
ตนเองปรารถนาให้ได้มาอย่าง ถูกต้องภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ (ศิริ ฮามสุโพธิ์, 2543, น.33) ในส่วนของดัชนี
การวัดคุณภาพชีวีต Ferrans CE. เรียกว่า “Quality of L ife Index : QLI ” มองว่าความพงพอใจในชีวิตของ
ึ
บุคคล ซึ่งมีประกอบด้วยคุณภาพชีวิต 4 ด้าน ได้แก่ ด้านทางกายภาพและความสามารถในการประกอบกิจกรรม
(Health and Functioning) ด้านทางสุขภาพจิตใจและความเชื่อ (Psychological/Spiritual) ด้านสถานะทาง
เศรษฐกิจและสังคม (Social and Economical) และด้านครอบครัว (Family) โดยทั้ง 4 ด้านข้างต้นนี้เป็นกรอบ
แนวคิดคุณภาพชีวิต แบบ meta-theory ของ Ferrans (Schol Inquiry Nurs Pract, 1996 : 10) นอกจากนี้
แล้ว ยังต้องน ามาพจารณาประกอบร่วมกนทั้ง สุขภาพทางกาย สุขภาพทางจิตใจและความเชื่อ ด้านเศรษฐกิจ
ิ
ั
สังคม และครอบครัว ซึ่งต้องน ามาพจารณาทั้งด้านความพงพอใจและความส าคัญขององค์ประกอบย่อยไปพร้อม
ิ
ึ
้
กัน เพอให้ครอบคลุม ในทุกด้านของคุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคล (อางถึงใน ปิยะวัฒน์ ตรีวิทยา, 2016: 177)
ื่
ั
ส าหรับองค์ประกอบคุณภาพชีวิตของประชาชนคนไทยนั้น ได้มีการพฒนาดัชนีชี้วัดความจ าเป็นพื้นฐานของ
ื่
ั
ครอบครัวส าหรับการบริโภค เพอให้ประชาชนสามารถพฒนาชีวิตและความเป็นอยู่ของตนเองครอบครัวให้มี
ั
ื้
คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างน้อยผ่านเกณฑ์จ าเป็นพนฐานโดยมีเครื่องชี้วัดข้อมูลพนฐาน จปฐ. แผนพฒนาเศรษฐกิจ
ื้
และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 มี 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี
7ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) หมวดที่ 3 ฝักใฝ่
การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงาน มีอาชีพและมีรายได้)
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) นอกจากนี้ จาขอบ ไวเนอร์ (Jacob Viner,
ั
ื่
1960) ก็ได้ให้ความส าคัญกับมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ที่จะน ามาใช้ในการพฒนาเพอให้เกิดความเท่า
เทียมและเป็นธรรมระหว่างมนุษย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศในโลกนี้โดยเฉพาะในด้านการแบ่งปัน
เทคโนโลยีและการผลิตทั้งหมด เพอที่จะตอบสนองความพอใจความต้องการในขั้นพื้นฐานของมนุษย์ และการ
ื่
ลดช่องว่าง ระหว่าง ความร่ ารวยกับความยากจน และน าไปสู่กระบวนการในการพฒนาทางด้านเศรษฐกิจให้
ั
ื้
สามารถพัฒนาต่อไปได้ ซึ่งจากการทบทวนแนวคิดข้างต้น พอสรุปได้ว่า คุณภาพชีวิตของประชาชนบนพนที่สูง
ศ
.
ในโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย ตัวชี้วัดของ จปฐ.ปี พ . 2559 และทฤษฎีความต้องการ
ื้
พนฐานของมนุษย์ ด้านความเท่าเทียมสิทธิมนุษยชน 6 ด้าน ได้แก่ (1) มีสุขภาพที่ดี (2) บ้านอยู่อาศัย (3)
ฝักใฝ่การศึกษา (4) รายได้ก้าวหน้า (5) ปลูกฝังค่านิยมไทย และ (6) ความเท่าเทียมสิทธิมนุษยชน
282