Page 286 - thaipaat_Stou_2563
P. 286
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ี
ผลักดันให้คนเกิดพฤติกรรมในการก าหนดทิศทางและเป้าหมายของตน ที่มีแรงจูงใจสูงจะใช้ความเพยร
พยายามในการกระท าให้ไปสู่เป้าหมายให้ส าเร็จ เช่น การศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาการ ผลิตสินค้า เป็นต้น
ทฤษฎีแรงจูงใจ ERG (ERG Theory : Alderfer) (ภารณีญ์ แผนสมบูร์, 2548: 12) แอลเดอร์เฟอร์
(Alderfer) ได้เสนอทฤษฎี ERG ที่ได้ข้อสรุปพนฐานที่ได้มาจากแนวคิดของ Maslow ล าดับความต้องการ 5
ื้
ขั้น ของ Maslow ให้เหลือเพียง 3 ขั้น ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 ความต้องการการด ารงอยู่ (Existence Needs) ซึ่งรวม
ความต้องการทางกายภาพและความมั่นคง ปลอดภัย มารวมไว้ด้วยกันหรือเรียกว่าความต้องการด้านพนฐาน
ื้
ของมนุษย์ หรือความต้องการด้านปัจจัย 4 ที่ประกอบด้วย น้ าอาหาร เครื่องนุ่งห่ม อากาศ รวมไปถึงการ
ั
พกผ่อนและสภาพแวดล้อมที่ดี ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับทฤษฎีล าดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ ในขั้นที่1
ั
ื่
และขั้นที่ 2 ขั้นที่ 2 ความต้องการที่จะมีความสัมพนธ์กับผู้อน (Reletedness Needs ) ซึ่งได้รวมถึงความ
ื่
ั
ต้องการทางสังคม และความต้องการยกย่องและชื่อเสียง การนับถือจากบุคคลอน ในด้านนี้อลเดอร์เฟอร์ ได้
รวบรวมบางส่วนของมาสโลว์เข้าไว้ด้วยกัน คือด้านความปลอดภัยในความสัมพนธ์ที่ดีกับผู้อนและขั้นที่ 4 การ
ั
ื่
ได้รับการนับถือจากผู้อน และ ขั้นที่ 3 ความต้องการที่จะเจริญงอกงาม (Growth Needs) ซึ่งเป็นความ
ื่
ต้องการของบุคคลที่จะท าอะไรให้ส าเร็จด้วยตนเองมีความก้าวหน้า ใช้ทักษะ ความสามารถ ความช านาญของ
ตนและแสวงหาความรู้เพื่อน ามาพัฒนาริเริ่มสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ (Self – Actualization) ของมาสโลว์
ทฤษฎี ERG ได้อธิบายว่า ความต้องการมากกว่าหนึ่งระดับอาจเกิดขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน หรือสามารถ
ถูกจูงใจด้วยความต้องการมากกว่าหนึ่งระดับในเวลาเดียวกัน เช่น ความต้องการทางด้านการเงินที่สูงขึ้น (E)
ิ
พร้อมกับความต้องการทางสังคม (R) และความต้องการโอกาสและอสระในการตัดสินใจ (G) สรุปได้ว่าทฤษฎี
ของ แอลเดอร์เฟอร์ ความต้องการซึ่งเป็นปัจจัยภายในที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคล ความต้องการที่
ิ่
มีอยู่ ล าดับล่างสามารถตอบสนองได้มากยิ่งท าให้เกิดความต้องการที่อยู่ในล าดับสูงเพมมากขึ้นและหาก ความ
ิ่
ต้องการที่อยู่ในล าดับที่สูง ได้รับการตอบสนองน้อยยิ่งท าให้เกิดความต้องการที่อยู่ในล าดับล่างเพมมากขึ้นมี
ึ่
ปัจจัย ภายนอกสามารถที่จะทดแทนปัจจัยจูงใจภายในได้ เช่นบุคคลส่งเสริมความงอกงามอาจพงพอใจจะ
ได้รับความไว้วางใจ และการให้ความช่วยเหลือเป็นการยกย่องชมเชย เป็นต้น จากการทบทวนแนวคิดข้างต้น
ผู้วิจัยได้น าแนวคิดทฤษฎีการจูงใจ อี อาร์ จี ของ อลเดอร์เฟอร์ ที่มีอยู่ 3 ประการมาปรับใช้เป็น (1) ความ
ั
ื่
ต้องการเพอการด ารงชีพ (2) ความต้องการการยอมรับจากผู้อื่น และ (3) ความต้องการความเจริญก้าวหน้าในชีวิต
4. ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงกำรหลวงจังหวัดเชียงใหม ่
การด าเนินการของมูลนิธิโครงการหลวงประกอบด้วยหน่วยงาน และแผนงานที่ทางมูลนิธิมีการ
บริหารจัดการตามโครงสร้างของหน่วยงาน ซึ่งประกอบด้วย ด้านงานวิจัย ด้านการพัฒนา ด้านการวิจัย/เกษตร
หลวง ด้านศูนย์การพฒนาโครงการหลวง ด้านการตลาดและการบริหารจัดการ โครงการหลวงในปัจจุบันได้มี
ั
การส่งเสริมและมีการพัฒนาพนที่ในชุมชนชาวเขาซึ่งตั้งอยู่บนพนที่เรียกว่าศูนย์พัฒนาโครงการหลวง มีจ านวน
ื้
ื้
รวม 38 แห่งในแต่ล่ะศนย์ครอบคลุมพื้นที่แห่งละ 5-20 หมู่บ้านในพื้นที่ของจังหวัดภาคเหนือตอนบนซึ่งได้แก่
ู
่
ู
เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮองสอน ล าพนและพะเยามีจ านวนประชากรรวมชาวชนเผ่าต่าง ๆ 13 เผ่า และชาว
ไทยที่อยู่อาศัยบนพนที่ภูเขาที่ได้รับประโยชน์ รวมทั้งสิ้น 37,561 ครัวเรือน มีจ านวนประชากร 172,309
ื้
คน ดังนั้นแนวทางวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมของกลุ่มชาติพนธุ์ในประเทศไทยมีความหลากหลายวิถีชีวิตที่คล้ายคลึง
ั
และมีความแตกต่างกันโดยมีสภาพเศรษฐกิจ สังคม จารีตประเพณีเป็นการปรับ ตัวเข้ากับทรัพยากรธรรมชาติ
ั
ื้
และสภาพสังคมที่ตั้งถิ่นฐานอยู่โดย “กลุ่มชาติพนธุ์บนพนที่สูง” ชนชาวเขาจะตั้งถิ่นฐานตามแนวเทือกเขาบน
ื้
พนที่สูงใน ภาคเหนือ อาชีพ ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรมที่พงพาอาศัยป่าเป็นหลัก มีแนวโน้มที่เปลี่ยนแปลงไปสู่
ึ่
สังคมเมืองมากขึ้นแต่ยังคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมของตนเอง
284