Page 285 - thaipaat_Stou_2563
P. 285

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       2. แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

                          ค าว่า เศรษฐกิจพอเพยง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
                                            ี
               พระราชทานพระราชด าริ ชี้แนะแนวทางในการด าเนินชีวิตให้แก่เหล่าพสกนิกรชาวไทยตลอดระยะเวลากว่า
                                                          ี
                                                                                                      ื่
               25 ปี ตั้งแต่ก่อนจะเกิดวิกฤตการณ์ด้านเศรษฐกิจอกทั้งสามารถผ่านพนมาได้อนด้วยแนวทางการแก้ไขเพอให้
                                                                         ้
                                                                                ั
                    ้
                                                                                                     ั
               รอดพนและด ารงอยู่ได้อย่างมั่นคงยั่งยืนในสถานการณ์ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ การพฒนา
               ประเทศจึงจ าเป็นต้องท าตามล าดับขั้น และต้องสร้างพนฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วน
                                                             ื้
                                                 ี
               ใหญ่เป็นหลักในเบื้องต้น เศรษฐกิจพอเพยงจึงเป็นแนวพระราชด าริใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ
                                                                               ื้
               พลอดุลยเดช ที่พระราชทานให้มานานกว่า 30 ปี ซึ่งเป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนพนฐานวัฒนธรรมไทยที่ได้ยึดทาง
               สายกลางและความไม่ประมาทและค านึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล สามารถสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง
                                       ื้
                                                                                          ี
               ใช้ความรู้และคุณธรรมเป็นพนฐานในการด ารงชีวิตรวมไปถึงการมีสติปัญญา และความเพยรซึ่งจะน าพาไปสู่
               ความสุขในชีวิตอย่างแท้จริงและยั่งยืน (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2556: www.chaipat.or.th).
                                                      ี
                       หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงประกอบ ด้วย 3 คุณลักษณะที่มีความเชื่อมโยงกันเพอที่
                                                                                                       ื่
               น าไปสู่การปฏิบัติอยู่บนพนฐานของ 2 เงื่อนไข ได้แก่ (1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ต่อความ
                                     ื้
               จ าเป็น และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อมรวมทั้งวัฒนธรรมในแค่ละท้องถิ่น ไม่มากเกินไป
               ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น (2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจด าเนินการเรื่อง
               ต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ที่ดีงาม โดยพิจารณา
               จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค านึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิด ขึ้นจากการ กระท านั้น ๆ อย่างรอบรู้ และ

               รอบคอบ (3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
               ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม สามารถปรับตัวและรับมือกับ
               สถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ อย่างทันท่วงที ส่วน 2 เงื่อนไขส าคัญที่จะท าให้การตัดสินใจและการกระท าเป็นไป
               พอเพียง จะต้องอาศัยทั้งคุณธรรมและความรู้ ดังนี้ (1) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องสร้างเสริมให้เป็นพื้นฐานทาง
               จิตใจของคนในชาติ ซึ่งประกอบด้วย ด้านจิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม การรู้ผิดชอบ ชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต

               การใช้สติ ปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการด าเนินชีวิตและด้านของการกระท าคือ มีความขยัน อดทน
                                                                     ื่
               ไม่โลภ ไม่ตระหนี่ รู้จักแบ่งปันและรับผิดชอบในการอยู่ร่วมกับผู้อนในสังคมได้ และ (2) เงื่อนไขความรู้ ประะ
               กอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้ เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบและ

               ความระมัดระวัง ที่จะน าความรู้ต่าง ๆ เหล่านั่นน ามาพจารณาให้เกิดความเชื่อมโยงกัน ประกอบการวางแผน
                                                             ิ
               และน าไปปฏิบัติที่ต้องค านึงถึง 4 มิติ ดังนี้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                                                    ้
               ด้านวัฒนธรรม นอกจากนี้ ประเวศ วะสี (อางถึงใน กรวรรณ สังขกร, 2552: 16) ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับ
               เศรษฐกิจพอเพยงว่า เศรษฐกิจ พอเพยงไม่ได้หมายว่าไม่เกี่ยวข้องกับใคร ไม่ค้าขาย ไม่ส่งออก ไม่ผลิตเพอคน
                                                                                                      ื่
                            ี
                                               ี
               อน ไม่ท าเศรษฐกิจมหภาค เศรษฐกิจพอเพยงจึงหมายถึง เศรษฐกิจสมดุลเป็นการกลับสู่สมดุลของสังคม
                 ื่
                                                     ี
                                                                             ี
                                                                                                  ี
               เศรษฐกิจ จิตใจ สิ่งแวดล้อมพอเพยง ชุมชนเข้มแข็ง พอเพยงปัญญาพอเพยง ฐานวัฒนธรรมพอเพยง และมี
                                            ี
                                                                ี
               ความมั่นคงพอเพยง ซึ่งจากการทบทวนแนวคิดข้างต้น พอสรุปได้ว่า หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง
                                                                                                       ี
                              ี
               ประกอบด้วย หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ได้แก่ (1) ความพอประมาณ (2) ความมีเหตุผล (3) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่
               ดี (4) เงื่อนไขความรู้ และ (5) เงื่อนไขคุณธรรม
                       3. แนวคิด ทฤษฎีแรงจูงใจ
                          แรงจูงใจ เป็นกระบวนการที่แต่ละบุคคลได้รับการกระตุ้นจากและมีสิ่งที่โน้มน้าวหรือชักน า บุคคล
               ให้เกิดพฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจ ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและแสดงการกระท าหรือปฏิบัติตาม มีพลัง

                                                                                                     283
   280   281   282   283   284   285   286   287   288   289   290