Page 288 - thaipaat_Stou_2563
P. 288
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ตำรำงที่ 1 ควำมสอดคล้องระหว่ำงวัตถุประสงค์ในกำรวิจัยกับสมมติฐำนกำรวิจัย
วัตถุประสงค์กำรวิจัย สมมติฐำนกำรวิจัย
1.เพอศึกษาระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบน 1. ระดับคณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบน
ุ
ื่
พื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ มีไม่ต่ า
กว่าร้อยละ 80
2. ระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูง
ของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่แต่ละชนเผ่ามี
ความแตกต่างกัน
2. เพอศึกษาปัจจัยที่มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิต 3. ตัวแปรอย่างน้อย 1 ตัวแปรมีอิทธิพลต่อคุณภาพ
ิ
ื่
ประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวง ชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวง
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
3.เพอเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4. ไม่ได้น ามาก าหนดสมมติฐานการวิจัยเนื่องจาก
ื่
ประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวง ใช้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ
จังหวัดเชียงใหม่
วิธีด ำเนินกำรวิจัย
รูปแบบการวิจัยผู้วิจัยใช้การออกแบบวิจัยแบบผสมผสาน และวิจัยแบบไม่ทดลอง (Non-
experimental Research) โดยใช้การวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) แบบตัดขวาง (Cross-Rectional)
เนื่องจากเป็นการวิจัยที่เก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง แล้วน ามาผสมผสานกับตัวอย่างที่สุ่มมาจากประชากร
จ านวนมาก และเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว และงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ โดย
ใช้เทคนิค ข้อมูล SWOT Analysis แก้ไขใหม่เป็น “รูปแบบการวิจัยใช้การวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัย
เชิงปริมาณโดยใช้การวิจัยเชิงส ารวจแบบตัดขวาง ผสมผสานกับการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ื้
ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัด
เชียงใหม่ ซึ่งมี จ านวน 27 โครงการ 16 อาเภอ ซึ่งประกอบด้วย อาเภอ เชียงดาว อาเภอหางดง อาเภอแม่วาง
อาเภอแม่ออน อาเภอสะเมิง อาเภอแม่แจ่ม อาเภอดอยสะเก็ด อาเภอแม่แตง อาเภอฮอด อาเภอแม่ริม อาเภอ
กัลยานิวัฒนา อาเภออาย อาเภอจอมทอง อาเภอฝาง กิ่งอาเภอแม่ออนเป็นจ านวน ประชากรทั้งสิ้น 117,693
คน (มูลนิธิโครงการหลวง, 2554) และสาเหตุที่ผู้วิจัยเลือกโครงการหลวงของจังหวัดเชียงใหม่ในการศึกษาวิจัย
เป็นพนที่ครอบคลุมของโครงการหลวงที่มีโครงการหลวงมากที่สุดและประชากรส่วนใหญ่ในโครงการหลวงอาศัย
ื้
ื้
อยู่บนพนที่สูงของภาคเหนือ และเป็นต้นแบบของการริเริ่มโครงการหลวง ตามพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จ
ื่
พระปรมินทรมหาภูมิพลอุลยเดช ที่ทรงให้ก่อตั้งมูลนิธิ โครงการหลวง ขึ้นเพอพฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนใน
ั
ชุมชนบนพื้นที่สูงให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ ด าเนินชีวิต และมีความ
สอดคล้องกับพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช เกี่ยวกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจ พอเพยงที่ทรงให้กลับมาใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (กรมพฒนาชุมชน, 2541) อกทั้งยังสอดคล้องกับ
ี
ี
ั
ั
แผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการ บริหารราชการแผ่นดินและความต้องการของชุมชนจึงส่งผลให้
ั
โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ได้มีการพฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูง ตามแผนยุทธศาสตร์
ื้
ั
ของโครงการหลวงที่มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกบแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
286