Page 290 - thaipaat_Stou_2563
P. 290
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
ผู้วิจัยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) ซึ่งจะมีค าถามในลักษณะปลายปิดและปลายเปิด และการ
สัมภาษณ์ เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งผู้วิจัย ได้สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม โดยการศึกษา
แนวคิด ทฤษฏี หลักการ และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบบสอบถามในการวิจัยครั้งนี้ ใช้การสอบถาม
ประชาชนที่เป็น ตัวแทนของแต่ละอ าเภอและแบ่งลักษณะของแบบสอบถามออกเป็น 4 ตอน คือ
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ (Checklists) เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ซึ่งเป็นค าถามปลายปิด (Close-end) ประกอบด้วยค าถามเกี่ยวกับ เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ
ปัจจุบัน รายได้ต่อเดือนและ จ านวนสมาชิกในครอบครัว
ิ
ตอนที่ 2 เป็นการสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูง
ื้
ิ
ของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ (1) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง (2) แรงจูงใจมีอทธิพลต่อ
ี
คุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่
ื้
ตอนที่ 3 เป็นการสอบถามระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวง
จังหวัดเชียงใหม่
ส าหรับแบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนที่ 3 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
โดยการน าองค์ความรู้และภูมิปัญญาของชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ภายใต้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยงใน
ี
การด ารงชีวิตโดยค าถามแต่ละข้อ มีค าตอบให้เลือกตามมาตราส่วนประเมินค่า (rating scale) 5 ระดับ ตาม
แบบของ Likert’s Seale ซึ่งท าการแบ่งระดับคะแนนออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
ี่
ระดับท 1 หมายถึง น้อยที่สุด
ี่
ระดับท 2 หมายถึง น้อย
ระดับท 3 หมายถึง ปานกลาง
ี่
ระดับท 4 หมายถึง มาก
ี่
ี่
ระดับท 5 หมายถึง มากที่สุด
ุ
ั
ตอนที่ 4 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาและอปสรรค รวมถึงข้อเสนอแนะแนวทางในการพฒนา
คุณภาพชีวิต ประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งควรเป็นค าถามแบบ
ื้
ปลายเปิด (Open-end) โดยแบบสอบถามข้างต้นได้ตรวจสอบความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อความกับ
นิยามเชิงปฏิบัติการ เพอคัดเลือกเฉพาะค าถามที่มี IOC ตั้งแต่ .60 เป็นต้นไป มาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ื่
เพื่อการวิจัยในครั้งนี้
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลได้ ดังนี้ (1) ผู้วิจัยและผู้ช่วยที่เป็นเจ้าหน้าที่โครงการหลวง 4 ท่าน และ
ี
ตัวแทนของชุมชน จ านวน 5 ท่าน โดยผู้วิจัยได้ท าการชี้แจงรายละเอยดแบบสอบถามแก่ผู้ช่วยวิจัยเพอเก็บ
ื่
ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง (2) ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ 2562 ถึงเดือน พฤษภาคม 2562
นอกจากนี้แล้ว ผู้วิจัยได้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์ ผู้น าประจ าโครงการ
หลวงหรือประชาชนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ จ านวน (1) ประกอบด้วย ท่าน 5\
องค์การ) เจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยและพฒนาพนที่สูง (2) หัวหน้าศูนย์พฒนาโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่
ั
ื้
ั
ั
มหาชนศูนย์พฒนาโครงการหลวงแม่สา ประชาชนในโครงการหลวง (4) ผู้น าเกษตรชุมชนห้วยน้ ากิน (3) (
บุคคลต้นแบบชุมชนโครงการหลวงขุนแปะ (5) และ อาเภอแม่ริม ใหม่ แล้วน าข้อมูลที่ได้จากการจดบันทึกมา
สังเคราะห์เชิงเนื้อหาพร้อมน าเสนอในรูปแบบการเขียนบรรยายความเรียง
288