Page 292 - thaipaat_Stou_2563
P. 292

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               Way ANOVA ด้วยสถิติ F-test พบว่า ค่า Sig. (2-tailed) เท่ากับ  000.ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยส าคัญทางสถิติที่
                                                            ื้
               ระดับ และเมื่อทดสอบสมมติฐานของประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ 0.05 ชน 8
                ได้ค่าสถิติ เผ่าF-test เท่ากับ 0 และมีค่านัยส าคัญทางสถิติเท่ากับ 15.779.005 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 ดังนั้น
                                     ี
               จึงปฏิเสธ H0 หรือกล่าวอกนัยหนึ่งคือ ยอมรับ H1 นั่นคือ ค่าเฉลี่ยระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบน
                 ื้
               พนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่แต่ละชนเผ่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ
               และเมื่อพบความแตกต่างผู้วิจัยจึงน ามาวิเคราะห์เปรียบเทียบ 0.05ระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบน

                 ื้
               พนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่แต่ละชนเผ่า โดยจ าแนกเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe แล้วพบว่า
               มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ จ านวน 0.05 7 คู่ ได้แก่ ชนเผ่าลาหูกับชนเผ่าดาราอง
                                                                                                         ั้
                                                                                                      ั้
                                                                         ั้
               ชนเผ่าลาหูกับชาวพนบ้าน ชนเผ่าม้งกับชนเผ่าดาราอง ชนเผ่าดาราองกับชนเผ่ากะเหรี่ยง ชนเผ่าดาราองกับ
                                ื้
                                                            ั้
                                               ื้
                                                              ื้
               ชนเผ่าอน ๆ ชนเผ่ากะเหรี่ยงกับชาวพนบ้าน และชาวพนบ้านกับชนเผ่าอน ๆ โดยค่าเฉลี่ยความแตกต่างของ
                      ื่
                                                                            ื่
               ระดับคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ของชนเผ่าลาหู่ เป็นค่าเฉลี่ยที่
                                            ื้
                                              ั้
               สูงสุด และค่าเฉลี่ยของชนเผ่าดาราองเป็นค่าเฉลี่ยที่ต่ าสุด และผลการทดสอบสมมติฐานดังกล่าวยืนยันให้เห็น
               ว่า ระดับคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อจ าแนกตามชนเผ่าแล้ว
                                               ื้
               พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน
                         ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2. เพอศึกษาปัจจัยที่มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชน
                                                                       ิ
                                                        ื่
                    ื้
               บนพนที่สูงของโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยทั้ง 2 คือ ปัจจัยปรัชญาของเศรษฐกิจ
                                                                                                 ื้
                    ี
               พอเพยง ตัวแปรทั้ง 5 (หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข) ความผันแปรที่มีต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของ
                                                                                                    ื้
               โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 52.6 ซึ่งมีความสัมพนธ์เชิงบวกต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูง
                                                                 ั
                                                                              ื้
               ของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ หรือกล่าวได้ว่า หากประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัด
               เชียงใหม่ ได้น าตัวแปรทั้ง 5 ตัวแปรมาใช้ให้มากขึ้น ก็จะส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อคณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่
                                                                                                       ื้
                                                                                 ุ
               สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ตามไปด้วย และปัจจัยแรงจูงใจ จ านวน 3 ตัวแปร ได้แก่ ตัวแปรด้าน
                                                           ื่
               พนฐานการด ารงชีวิต ตัวแปรด้านการยอมรับจากผู้อน และตัวแปรด้านความเจริญก้าวหน้าและมั่นคงในชีวิต
                 ื้
               ตัวแปรทั้ง 3 ความผันแปรที่มีต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ
                                                                  ื้
               51.8 มีความสัมพนธ์เชิงบวกต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ หรือ
                               ั
                                                                  ื้
               กล่าวได้ว่า หากประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ได้น าตัวแปรทั้ง 3 ตัวแปรมาใช้ให้
                                          ื้
                                     ิ
               มากขึ้น ก็จะส่งผลหรือมีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ตาม
                                                                    ื้
               ไปด้วย
                         ผลการทดสอบสมมติฐานข้อที่ 3 “ตัวแปรอย่างน้อย 1 ตัวแปร จากปัจจัยทั้งหมด 2 ปัจจัย ได้แก่
                                                                               ื้
                                                 ิ
               ปัจจัยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัด
                                                                                                     ื้
               เชียงใหม่ (หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข) และปัจจัยแรงจูงใจมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูง
               ของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีตัวแปรทั้งหมด 8 ตัวแปร และได้ตั้งสมมติฐานว่า ตัวแปรอย่างน้อย 1
                         ิ
               ตัวแปร มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนบนพนที่สูงโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่” ผู้วิจัยใช้สถิติการ
                                                           ื้
               วิเคราะห์แบบ F-test โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) พบว่า ตัวแปร
                                     ิ
                                                                        ื้
               ทั้งหมด 8 ตัวแปรล้วนมีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนบนพนที่สูงโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่ง
               เป็นไปตามสมมติฐาน สรุปได้ดังภาพที่ 2





                                                                                                     290
   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297