Page 295 - thaipaat_Stou_2563
P. 295
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
สรุปภาพรวมให้เห็นสภาพความแตกต่างของสังคมเมืองและสังคมชนบทไว้ได้อย่างชัดเจนว่า ความแตกต่าง
ทางด้านอาชีพของสังคมชนบท เป็นชุมชนที่ประกอบด้วยประชากรและครอบครัวที่ประกอบอาชีพการเกษตร
ื่
อาชีพรับจ้าง ค้าขาย คนกลุ่มอน ๆ มีอยู่น้อย ส่วนด้านอาชีพของสังคมเมือง คือ เป็นประชากรที่มีอาชีพ
ุ
ื่
เกี่ยวข้องกับ การค้า พาณิชยกรรม อตสาหกรรม และอาชีพอน ๆ ที่มิใช่เกษตรกรรม และความแตกต่างด้าน
เศรษฐกิจ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของสังคมชนบท มีวิถีชีวิตอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ และมีความสัมพนธ์กับ
ั
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นปัจจัยที่ความส าคัญ และมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม มีความ
แตกต่างกัน ส่งผลไปถึงการมีระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในแต่ละด้าน
3. จากผลการทดสอบสมมติฐานข้อที่ 3 พบว่า ตัวแปร 8 ตัวแปร จากปัจจัยทั้งหมด 2 ปัจจัย ได้แก่
ิ
ปัจจัยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง (หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข) และปัจจัยแรงจูงใจเป็นตัวแปรที่มีอทธิพลต่อ
ี
ื้
คุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่นั้น ผู้วิจัยขอแบ่งการอภิปราย
เป็นรายปัจจัย ดังนี้
3.1 ตัวแปรของปัจจัยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงที่เข้าสู่สมการถดถอยตามล าดับ ได้แก่ (1)
ี
ตัวแปรด้านมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี (2) ตัวแปรด้านเงื่อนไขคุณธรรม (3) ตัวแปรด้านความพอประมาณ (4) ตัวแปร
ด้านเงื่อนไขความรู้ และ (5) ตัวแปรด้านความมีเหตุผล อันหมายความว่า ตัวแปรทั้ง 5 ตัวแปรนี้ล้วนมีอิทธิพล
ต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่มากน้อยแตกต่างกันไปตามล าดับ
ื้
ทั้งนี้เป็นเพราะกลุ่มตัวอย่างได้เห็นถึงความส าคัญของการเตรียมพร้อมในการรับผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงจากสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เช่น มีการ
วางแผนในการใช้จ่าย จัดเก็บเงินออม มีเงินทุนส ารองส าหรับอนาคตไว้ใช้ในยามจ าเป็นหรือฉุกเฉิน มีความ
ตระหนักในหลักคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน ความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการด าเนินชีวิตใน
การสร้างเสริมพื้นฐานทางด้านจิตใจของตน ประกอบด้วย ด้านจิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม การรู้ผิดชอบ
ชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต การใช้สติ ปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการด าเนินชีวิตและด้านของการกระท า คือ
ื่
มีความขยัน อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี่ รู้จักแบ่งปันและรับผิดชอบในการอยู่ร่วมกับผู้อนในสังคมได้ โดยกลุ่ม
ึ่
ตัวอย่างยังให้ความส าคัญกับการใช้ชีวิตความเป็นอยู่ในการพงพาตนเองโดยการใช้แรงงานภายในครัวเรือน
ทดแทนการจ้างแรงงานจากภายนอก มีการปลูกพชผักไว้บริโภคภายในครัวเรือน และซื้ออาหารจากภายนอก
ื
ี
เท่าที่จ าเป็น สามารถด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง และมีรายได้ที่เพยงพอกับรายจ่ายใน
ี
การด ารงชีวิตที่จะต้องอาศัยความพอดีที่ไม่มากเกินไปไม่น้อยจนเกินไป โดยยึดทางสายกลางตามหลัก
พระพทธศาสนาในการด าเนินชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ
ุ
พลอดุลยเดช ณ ศาลาดุสิตดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2541 ที่ได้ทรงตรัสถึงความพอประมาณในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยงไว้ว่า “พอเพยง มีความหมายกว้างมากยิ่งกว่านี้อก คือค าว่าพอ ก็พอเพยงนี้ก็พอแค่
ี
ี
ี
ี
นั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภ ที่น้อยลงและเมื่อความโลภน้อยลงก็จะเบียดเบียนคนอน
ื่
ั
ี
น้อยเช่น กัน ถ้าประเทศใดมีความคิดอนนี้ มีความคิดว่าท า อะไรต้อง พอเพยง หมายความว่าพอประมาณ มี
ความซื่อตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่อย่างเป็นสุขได้ พอเพยงนี้อาจ จะมีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่
ี
ื่
ต้องไม่เบียดเบียนผู้อน” และยังตรัสเกี่ยวกับค าว่า “ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
และต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวดีพอสมควรต่อผลกระทบต่าง ๆ อนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ
ั
ภายในที่ต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวังอย่างยิ่งเมื่อน าวิชาต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนด าเนินการ
เพอเสริมสร้างพนฐานด้านจิตใจของคนในประเทศ เช่นนี้ จึงเท่ากับเป็นการน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ื้
ื่
พอเพียงมาใช้ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ให้ดี
ยิ่งขึ้น
293