Page 294 - thaipaat_Stou_2563
P. 294
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื้
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมเป็นหลัก จึงส่งผลให้ประชาชนในชุมชนบนพนที่สูง
โครงการหลวง มีวิถีชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิมที่สอดแทรกการด าเนินชีวิตที่มีความพอประมาณ ประหยัด อด
ื
ุ่
ึ่
ออม ไม่ฟมเฟอย สามารถพงพาตนเอง มีการตัดสินใจโดยค านึงถึงการมีเหตุผลเป็นส าคัญ เป็นสังคมชนบทที่ม ี
ื้
ื้
ความเออเฟอเผื่อแผ่และเอออาทรต่อกัน จึงส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ ที่เออ
ื้
ื้
ประโยชน์ต่อการด ารงชีวิตในวิถีแบบพงตนเอง สอดคล้องกับทัศนะของผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 ท่าน ได้แก่ (1)
ึ่
ุ
ั
ั
ว่าที่ร้อยตรีธวัชชัย ภูมิวง หัวหน้าศูนย์พฒนาโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ (2) นายพทธิพทธ์ พลอยส่งศรี
ั
ื้
เจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยและพฒนาพนที่สูง (องค์การมหาชน) และประธานโครงการหลวงแม่ริม (3) นายจันทร์
แดง สุลัยยะ ผู้น าเกษตรชุมชนห้วยน้ ากิน (4) นายวิน เลิศชัยสหกุล ศูนย์พฒนาโครงการหลวงแม่สาใหม่
ั
อ าเภอแม่ริม ประชาชนในโครงการหลวง และ (5) นายอาทิตย์ พณาธิคุณ บุคคลต้นแบบชุมชนโครงการหลวง
ี
ขุนแปะ (สัมภาษณ์, 2561) ที่มีความคิดเห็นตรงกันว่า “จุดแข็งของการน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง
และแรงจูงใจมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่
ื้
ุ
การที่ชุมชนส่วนใหญ่มีพนที่ท ากินและอยู่ในโครงการหลวงเป็นส่วนใหญ่ ในเขตพนที่ป่าเขาที่มีความอดม
ื้
ื้
สมบูรณ์ทางธรรมชาติค่อนข้างสูง ประชาชนส่วนใหญ่ในโครงการหลวงท าอาชีพด้านเกษตรกรรม กอปรกับ
สภาพสังคมในชุมชนส่วนใหญ่เป็นสังคมชนบทและมีสภาพความเป็นสังคมเมืองเพียงเล็กน้อยเท่านั้น สภาพทาง
ุ่
ื
ภูมิศาสตร์และสังคมใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมที่สอดแทรกภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความพอประมาณ ไม่ฟมเฟอย รู้จัก
ื้
เก็บออม ผู้คนใช้จ่ายหรืออยู่อย่างประหยัด และการเอออาทร เออเฟอต่อกัน ดังนั้นในการด ารงชีวิตของ
ื้
ื้
ื้
ี
ประชาชนบนพนที่สูงส่วนใหญ่จึงเป็นวิถีชีวิตสอดรับกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงอยู่ก่อนแล้ว ซึ่ง
สอดคล้องกบงานวิจัยของ ธนิญริญญ์ สิริปุณญาธิรัชต์ (2557) ที่ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความส าเร็จ
ั
ี
ของการน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยงไปปฏิบัติในจังหวัดระนอง แล้วพบว่า ระดับความส าเร็จของการน า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของประชาชนในจังหวัดระนอง มีไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80
2. จากผลการทดสอบสมมติฐานข้อที่ 2 พบว่า ระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของ
โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่แต่ละชนเผ่ามีความแตกต่างกัน เมื่อวิเคราะห์โดยใช้สถิติค่า Sig ที่ระดับ
ื้
นัยส าคัญ 0.05 เมื่อน ามาทดสอบระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัด
ื้
เชียงใหม่ว่าแต่ละชนเผ่ามีความแตกต่างกัน เช่นนี้เป็นเพราะประชาชนบนพนที่สูงในโครงการหลวงนั้นเกิดจาก
ั
การอพยพเคลื่อนย้ายมาจากหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพนธุ์ ซึ่งแต่ละชนเผ่านั้นมีประเพณี
ั
วัฒนธรรม สภาพสังคม สภาพแวดล้อม และมีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกน กล่าวคือ ประชาชนในชุมชนบนพนที่
ื้
สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่มีวิถีชีวิต และวัฒนธรรม ค่านิยมที่ต่างกันไป จึงเป็นสาเหตุหลักที่ท าให้
ความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตที่แตกต่างกันไปนั่นเอง ทั้งนี้สอดคล้องกบทัศนะของผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 ท่าน ซึ่ง
ั
มีความคิดเห็นตรงกันว่า “ ...ประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชนบนพนที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ มี
ื้
สภาพสังคมเป็นสังคมชนบท ซึ่งในสังคมชนบทนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมาก เช่น ด้านวิถีชีวิตหรือสภาพทาง
ภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี และสังคม โดยที่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบนพนที่สูงเป็น
ื้
สังคมชนบทจะใช้วิถีชีวิตในแบบดั้งเดิมที่สอดแทรกภูมิปัญญาท้องถิ่น” และอกหนึ่งความเห็นเพมเติมในส่วน
ิ่
ี
ของข้อจ ากัดของการในการน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงและแรงจูงใจมาช่วยพฒนาระดับคุณภาพ
ี
ั
ื้
ชีวิตของประชาชนบนพนที่สูง คือ ความแตกต่างของประชากร เช่น การ ศึกษา อายุ ชนเผ่า สภาพภูมิ
ประเทศ เป็นต้น จึงส่งผลให้หน่วยงานหรือภาครัฐเกิดปัญหาในการติดต่อสื่อสาร ถ่ายทอด และเชื่อมโยง
ื้
แลกเปลี่ยนข้อมูลกับประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงไม่ชัดเจนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันในทุกระดับ ดังที่
ปิยวัฒน์ ตรีวิทยา (2559: 49) ได้กล่าวถึง คุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อการวัดและการแปรผลหากวิธีการมีความ
ื้
แตกต่างกัน จึงมีความสอดคล้องกับระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมบนพนที่สูงที่มีความแตกต่างกัน
292