Page 297 - thaipaat_Stou_2563
P. 297
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
แนวทางพระราชด าริโดยมีผู้ด าเนินการหลักเป็นเกษตรกรหรือธุรกิจภาคเอกชนที่ได้ประโยชน์จากผลผลิตจาก
พื้นที่สูงที่สอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1.5 โครงการฯ ควรสนับสนุนมีผู้น าที่คอยอานวยความสะดวกให้กับคนในชุมชนบนพนที่สูงได้
ื้
เรียนรู้ จากประสบการณ์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง มีการติดตามยอมรับและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน
ื้
อย่างต่อเนื่อง การสร้างบรรยากาศภายในชุมชนให้เออต่อการเรียนรู้ทั้งจากภายในและภายนอก มีความ
ไว้วางใจ เกิดการยอมรับต่อผลงานในการสร้างนวัตกรรมใหม่ที่จะเกิดขึ้นในชุมชน
1.6 โครงการฯ ควรจัดท าโครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อที่จะสามารถติดตาม และประเมินผลจาก
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้จัดท าขึ้นเช่นการร่วมมือกับเครือข่ายหรือ ทางสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน หรือภาครัฐที่ให้
การส่งเสริมทางสาธารณสุข
1.7 โครงการฯ ควรมีการจัดตั้งศูนย์อานวยการเกี่ยวกับอบัติภัยขึ้น มีเครื่องมือและอปกรณ์ที่
ุ
ุ
ื่
ุ
สามารถบรรเทาทุกข์เบื้องต้น และเพอเป็นแหล่งกระจายข่าวสารและข้อมูลต่าง ๆในรับมือกับอบัติภัยร่วมกับ
ื่
การฝึกอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนเพอเป็นแนวทางในการน าไปปฏิบัติได้จริงในการเตรียมพร้อมกับ
มือเกี่ยวกับอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที และมีความปลอดภัยในการด ารงชีวิตที่มั่นคงต่อไปในอนาคต
1.8 โครงการฯ ควรสร้างร่วมมือกับเครือข่ายความช่วยเหลือ จากสถาบัน หน่วยงานต่าง ๆ และ
ื่
เชื่อมโยงประชาชนในชุมชนเพอเรียนรู้องค์ความรู้จากศูนย์หรือโครงการต่าง ๆ ของโครงการหลวงโดยการ
ผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนเข้าไว้ด้วยกัน ด้วยสภาพพนที่สูงมีความหลากหลายด้านสังคมและ
ื้
วัฒนธรรม ประเพณี ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชน หากมีการเชื่อมโยงน าความรู้และอปกรณ์ เทคโนโลยี
ุ
ใหม่ๆ ไปผสมผสานและปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพของชุมชนบนพนที่สูงในแต่ละแห่งโดยค านึงถึงหลักของ
ื้
วิถีชีวิตดั้งเดิมของประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูง
1.9 หน่วยงานภาครัฐควรสนับสนุนในการพฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิต และใช้
ั
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน ให้การสนับสนุนช่องทางการตลาดและการขนส่งสินค้าของ
ชุมชนบนพื้นที่สูงทุกช่องทางได้อย่างครบวงจร
ื่
1.10 ภาครัฐหรือหน่วยงานอน ๆ ควรส่งเสริมเศรษฐกิจและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนโดยใช้ประโยชน์จากธรรมชาติสิ่งแวดล้อมในชุมชน และภูมิปัญญา
ท้องถิ่นในเชิงท่องเที่ยวอนุรักษ์รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการมีส่วนร่วม
ื้
ของประชาชนในชุมชนบนพนที่สูงและภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมีการน าเทคโนโลยี สารสนเทศและการ
สื่อสารประชาสัมพันธ์มาช่วยสนับสนุนการท่องเที่ยวของชุมชน
2. ข้อเสนอแนะในกำรวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการวิจัยต่อไปในเรื่อง การพฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนบนพนที่สูง
ั
ื้
ั
ื่
เพอให้เกิดแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดในการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง พฒนาและช่วยยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนในชุมชนบนพนที่สูง ให้เกิดความ สมดุล มั่นคงและมีความเจริญก้าวหน้าในชีวิต ทั้งด้าน
ื้
เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมรอบตัว ทั้งในระดับตนเอง ระดับชุมชน และ
ระดับประเทศต่อไป
2.2 ควรศึกษาการวิจัยแบบเจาะลึกโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เพอให้ได้ข้อมูลในเชิงลึก
ื่
โดยวิธีการสัมภาษณ์ ตัวแทนชุมชน ผู้น าโครงการ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในโครงการหลวง กรมพัฒนาชุมชน
ื้
และสถาบันวิจัยบนพนที่สูง และประชาชนที่ประสบกับปัญหาไม่ผ่านเกณฑ์ความยากจนจากการส ารวจข้อมูล
ื้
ื่
ของ จปฐ. เพอเป็นประโยชน์ในการน าไปแก้ไขปัญหายกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนบนพนที่สูง
295