Page 296 - thaipaat_Stou_2563
P. 296
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
3.2 ตัวแปรของปัจจัยจูงใจที่เข้าสู่สมการถดถอยตามล าดับ ได้แก่ (1) ตัวแปรด้านพนฐานการ
ื้
ื่
ด ารงชีวิต (2) ตัวแปรด้านการยอมรับจากผู้อน และ (3) ตัวแปรด้านความเจริญก้าวหน้าและมั่นคงในชีวิต อัน
ื้
ิ
หมายความว่า ตัวแปรทั้ง 3 ตัวแปรนี้ล้วนมีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนบนพนที่สูงของโครงการหลวง
จังหวัดเชียงใหม่มากน้อยแตกต่างกันไปตามล าดับ ทั้งนี้เป็นเพราะกลุ่มตัวอย่างได้เห็นว่า ชุมชนบนพื้นที่สูงของ
โครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่มีสภาพแวดล้อมที่เอออานวยต่อการด ารงชีวิตเพราะสามารถส่งเสริมให้
ื้
ี
ประชาชนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อกทั้งหากประชาชนในชุมชนเห็นว่าประชาชนมีแรงจูงใจมีความ
ต้องการด้านพื้นฐานในการด ารงชีวิต คือการมีที่อยู่อาศัยที่มั่นคง มีเครื่องนุ่งห่ม มีอาหารและน้ าไว้ใช้เลี้ยงชีพได้
ี
อย่างพอเพยง มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีสุขภาพที่ดี รวมไปถึงการอยู่ร่วมกันพงพาอาศัยกันในสังคมท าให้เกิด
ึ่
วัฒนธรรมที่ดีมีการท ากิจกรรมร่วมกัน มีการยอมรับและให้เกียรติซึ่งกัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ
ื่
ด ารงชีวิต ได้รับโอกาสทางสังคมทั้งจากภายในและภายนอก และการยอมรับจากผู้อน ท าให้ครอบครัวและ
ชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยอาศัยหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยงเป็นแนวคิดที่สามารถเชื่อมโยงให้
ี
ุ่
ประชาชนในชุมชนด ารงชีวิตอยู่ได้อย่างอบอนและมีความสุข จึงเป็นสาเหตุที่แรงจูงใจส่งผลให้คุณภาพชีวิต
ประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สุชาดา สุขบ ารุง
ศิลป์ (2553: 17) ที่กล่าวว่า แรงจูงใจ คือ สิ่งที่อยู่ภายในตัวบุคคลเป็นแรงขับและเป็นพลังของแต่ละคน ที่
ส่งผลให้การกระท าอย่างใดอย่างหนึ่งจนส าเร็จ มนุษย์มีความคาดหวังและมีความต้องการ (Needs) และ
ิ
เป้าหมายในชีวิต ท าให้เกิดแรงขับ (Drive) เพอน าไปสู่เป้าหมาย (Goald) ดังนั้นแรงจูงใจจึงมีอทธิพลส่งผลให้
ื่
การกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมา และพยายามรักษาพฤติกรรม เพอให้ตนได้รับสิ่งที่บุคคลนั้น
ื่
คาดหวังตามความต้องการ จึงท าให้กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า ตัวแปรทั้ง 3 ของปัจจัยจูงใจเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อ
คุณภาพชีวิตประชาชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่
ข้อเสนอแนะ
ผู้วิจัยได้แบ่งข้อเสนอแนะออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ และ
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ดังนี้
1. ข้อเสนอแนะในกำรน ำผลกำรวิจัยไปใช้
1.1 โครงการฯ ควรจัดตั้งกลุ่มสมาชิกกองทุนหมู่บ้านเพอการออมทรัพย์ ส่งเสริมให้ประชาชนใน
ื่
ชุมชนบนพื้นที่สูง รู้จักจัดสรรปันส่วนในทรัพย์สินของตน จัดท าบัญชีครัวเรือน เก็บออมเงิน เพื่อไว้เป็นทุนและ
เงินส ารองยามฉุกเฉินส าหรับอนาคต
1.2 โครงการฯ ควรมีปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนเป็นต้นแบบแห่งความส าเร็จ มีการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ทักษะวิชาแต่ละสายอาชีพ และมีการสาธิตการวัสดุที่มีอยู่มาท าเครื่องมือไว้ส าหรับอุปโภค-บริโภคที่เป็น
ทรัพยากรทางธรรมชาติ มาใช้เองในครัวเรือนน ามาเผยแพร่ให้ชาวบ้านได้รู้ได้เห็นและสามารถท าได้จริงจนน าสู่
การน าไปปฏิบัติอย่างเห็นผลชุมชนเพอสร้างคุณค่าให้กับประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้และใช้ประโยชน์อย่าง
ื่
เหมาะสมในการด ารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ื้
1.3 โครงการฯ ควรส่งเสริมให้เกษตรกรสร้างรูปแบบธุรกิจเกษตรในพนที่สูงและยั่งยืนในระยะ
ยาวยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ผลผลิต โดยสร้างแบรนด์ของตนเอง ให้อยู่บนมาตรฐาน GMP อนจะ
ั
น าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในการประกอบอาชีพและการด ารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ื่
1.4 โครงการฯ ควรสร้างระบบผลตอบแทนต่อการท าเกษตรให้สูงและยั่งยืนขึ้น เพอเป็น
แรงจูงใจให้กับประชาชน การก าหนดแนวทางการตลาดและแนวทางในธุรกิจที่มารองรับผลผลิต ที่สร้างรายได้
ื้
จากธุรกิจขนาดเล็กในชุมชนบนพนที่สูง โดยมีโครงการหลวงช่วยส่งเสริมและผลักดันให้การพัฒนาพนที่สูงตาม
ื้
294