Page 325 - thaipaat_Stou_2563
P. 325

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓






               Keyword:     meta-analysis,  pay-for-performance,  employee  productivity,  private  sector

               employee, public sector employee
                                                          บทน ำ
                                                                             ิ่
                       วิธีจูงใจให้พนักงานปฏิบัติตามเป้าหมายขององค์การและ/หรือเพมผลการปฏิบัติงานสามารถแบ่งได้
               ออกเป็นสองวิธี คือ (1) การจูงใจจากภายในตัวพนักงานเอง (intrinsic motivation) เช่น การก าหนด
               เป้าหมายให้แก่ตนเอง (self-determination) ความสามารถในการควบคุมตนเอง (internal control) หรือ
               การตระหนักรู้ในสมรรถนะของตนเอง (sense of competency) และ (2) การจูงใจจากภายนอก (extrinsic

               motivation) เช่น  เงินค่าตอบแทน สวัสดิการ โบนัส และรางวัลพิเศษต่าง ๆ (Deci & Ryan, 1985) การจ่าย
               ค่าตอบแทนตามผลงาน (pay-for-performance [PFP]) คือหนึ่งในกลยุทธ์การจูงใจจากภายนอกที่ได้ถูก
               น ามาใช้ในองค์การภาคเอกชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐในหลาย ๆ ประเทศ ด้วยมุ่งหวังที่จะจูงใจให้พนักงาน
               อุทิศก าลังและความสามารถเพื่อส่งมอบผลการปฏิบัติตามที่องค์การได้ตั้งเป้าไว้ (Herzberg, 1968)
                       จากอดีตถึงปัจจุบัน ได้มีนักวิจัยจ านวนหนึ่งที่ได้ศึกษาประสิทธิผล (effectiveness) ของการใช้ระบบ

                                                    ิ่
               การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานที่มีต่อการเพมผลการปฏิบัติงานของพนักงาน ซึ่งงานวิจัยเหล่านั้นก็ได้รายงาน
               ผลการศึกษาที่ไม่สอดคล้องต้องกัน กล่าวคือ มีผลการวิจัยจ านวนหนึ่งที่รายงานว่า การจ่ายค่าตอบแทนตาม
                                ั
               ผลงานมีความสัมพนธ์เชิงบวกกับการเพมผลการปฏิบัติงานของพนักงาน รวมถึงเพมระดับความผูกพนใน
                                                                                      ิ่
                                                                                                      ั
                                                  ิ่
               องค์การของพนักงาน (เช่น Judge, Piccolo, Podsakoff, Shaw, & Rich, 2010; Williams, McDaniel, &
               Nguyen, 2006) แต่ก็มีงานวิจัยอกจ านวนหนึ่งที่พบว่า การจ่ายค่าตอบแทนไม่มีความสัมพนธ์ใด ๆ กับการ
                                                                                            ั
                                            ี
                                                                                               ี
               เพมผลการปฏิบัติงาน (เช่น Pearce, Stevenson, & Perry, 1985) นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยอกกลุ่มหนึ่งที่
                  ิ่
               รายงานว่า ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานได้ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อตัวพนักงาน ดังเช่น การลด
               ระดับความสนุกในการท างาน (work enjoyment) รวมถึงการลดระดับสมรรถนะในการท างาน (work
               competency) (Eisenberger, Rhoades, & Cameron, 1999; Ryan & Deci, 2000)
                                                                           ั
                                                            ื่
                       และแม้ว่าในอดีตจะมีการวิเคราะห์อภิมานเพอศึกษาความสัมพนธ์ระหว่างการจ่ายค่าตอบแทนตาม
               ผลงานและการเพมผลการปฏิบัติงานของพนักงานอยู่บ้าง ผู้วิจัยกลับพบว่า งานวิจัยอภิมานเหล่านั้นยังมี
                               ิ่
               ข้อจ ากัด โดยเฉพาะการก าหนดขอบเขตของการศึกษาที่เน้นไปที่ภาคส่วนใดภาคส่วนหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น
               การศึกษาประสิทธิผลของการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานในหน่วยงานภาครัฐ (Gerrish, 2016) ภาค
               การศึกษา (Pham, Nguyen, & Springer, 2017) หรือภาคธุรกิจ (Nyberg, Pieper, & Trevor, 2018) ด้วย
               เหตุนี้ การวิเคราะห์อภิมานของผู้วิจัยจึงเกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพอเติมเต็มช่องว่างดังกล่าว โดยผู้วิจัยได้เก็บ
                                                                       ื่
               รวบรวมผลการศึกษาวิจัยทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน และใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็น
                                                                                          ี
                                                                                ั
                                           ื่
               ระบบ (systematic review) เพอรวบรวมงานวิจัยที่รายงานผลค่าสหสัมพนธ์แบบเพยรสัน (Pearson's
               Product Moment Correlation Coefficient [r]) ระหว่างการประยุกต์ใช้การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานกับ
               ผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่ปฏิบัติงานทั้งในองค์การภาครัฐและภาคเอกชนใน 18 ประเทศ  ทั้งนี้
                                                                                                   77
                                               ์
               งานวิจัยที่ถูกคัดเลือกเหล่านี้ถูกตีพมพในวารสารทางวิชาการระหว่างปี ค.ศ. 1987 ถึง 2017 จากนั้น ผู้วิจัย
                                            ิ
               ได้ใช้เทคนิคทางสถิติเชิงอภิมาน เพอวิเคราะห์หาค่าขนาดความสัมพนธ์ (effect size) ระหว่างการจ่าย
                                                                            ั
                                               ื่

               77
                  Australia, Belgium, Canada, China, Eretria, Finland, India, Japan, Luxembourg, Malta, Norway, Russia, South Korea, Switzerland, Taiwan, Turkey, USA, และ UK
                                                                                                     323
   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329   330