Page 326 - thaipaat_Stou_2563
P. 326
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ค่าตอบแทนตามผลงานและการเพิ่มผลกการปฏิบัติงานของพนักงาน
นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังพบอีกว่า การวิจัยเชิงอภิมานที่กล่าวมาแล้วในอดีตยังไม่เคยตรวจสอบอิทธิพลของ
ตัวแปรแทรก (moderators) ทั้งในระดับองค์การและในระดับประเทศ ที่อาจจะส่งผลต่อประสิทธิผลของการ
ิ่
ื่
ประยุกต์ใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานเพอการเพมผลการปฏิบัติของพนักงาน ผู้วิจัยจึงเติมเต็ม
ิ
ช่องว่างการวิจัยดังกล่าวด้วยการใช้เทคนิคการวิเคราะห์พหุระดับแบบ 3 ระดับ มาทดสอบอทธิพลของตัวแปร
แทรกระดับบุคคล เช่น ประเภทของพนักงาน (ภาครัฐ vs. ภาคเอกชน) ตัวแปรแทรกระดับองค์การ เช่น
การบูรณาการระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานเข้ากับระบบการบริหารงานบุคคลที่ดีอน ๆ ในองค์การ
ื่
รวมถึงอทธิพลของตัวแปรแทรกระดับประเทศ คือ ค่านิยมในการมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานของคนในชาติ
ิ
78
(national performance-oriented value) ที่มีต่อประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้ระบบการจ่าย
ค่าตอบแทนเพื่อเพิ่มผลการปฏิบัติงาน
ผู้วิจัยคาดหวังว่า บทความชิ้นนี้นอกจากจะได้รายงานผลสรุปเชิงอภิมานเกี่ยวกับประสิทธิผลของการ
ื่
ิ่
ใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานเพอเพมผลการปฏิบัติงานของพนักงานภาครัฐและภาคเอกชนใน
ต่างประเทศแล้ว บทเรียนที่ได้จากการศึกษานี้จะถูกจัดท าเป็นข้อเสนอแนะให้แก่ระบบราชการไทย ในการ
ประยุกต์ใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานที่เหมาะสมกับการบริหารงานบุคคลภาครัฐต่อไป
ค ำถำมกำรวิจัย
1. การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานมีประสิทธิผลในการจูงใจให้พนักงานเพิ่มผลการปฏิบัติงานหรือไม่
2. ตัวแปรแทรก (moderator) ระดับบุคคล เช่น ประเภทของพนักงาน (พนักงานหน่วยงานภาครัฐ
และพนักงานหน่วยงานภาคเอกชน) จะมีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตาม
ผลงานและการเพิ่มผลการปฏิบัติงานของพนักงานหรือไม่
3. ตัวแปรแทรกระดับองค์การ เช่น การบูรณาการการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานกับระบบการ
ื่
ั
บริหารงานบุคคลที่ดีด้านอน ๆ จะมีอทธิพลต่อความสัมพนธ์ระหว่างการใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตาม
ิ
ผลงานและการเพิ่มผลการปฏิบัติงานของพนักงานหรือไม่
4. ตัวแปรแทรกระดับประเทศ เช่น ค่านิยมมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (national performance-
ั
ิ
oriented value) จะมีอทธิพลต่อความสัมพนธ์ระหว่างการใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานและการ
เพิ่มผลการปฏิบัติงานของพนักงานหรือไม่
วิธีกำรศึกษำ
ผู้วิจัยเริ่มกระบวนการวิเคราะห์อภิมานด้วยการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ (systematic
ิ
review) (Lipsey & Wilson, 2001) โดยการก าหนดขอบเขตของการศึกษา เช่น ระยะเวลาของการตีพมพ ์
ผลงานวิจัย ฯลฯ รวมถึงการนิยามค าศัพท์ของตัวแปรที่ต้องการศึกษาก่อนการคัดเลือกงานวิจัยเข้าสู่การ
วิเคราะห์อภิมาน เช่น การนิยามความหมายของการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน ให้ครอบคลุมงานวิจัยต่าง ๆ
ิ่
ที่รายงานผลการศึกษาเกี่ยวกับการใช้เงินเพอจูงใจให้พนักงานเพมผลการปฏิบัติงาน โดยมีค าศัพท์ที่เข้าข่าย
ื่
การถูกคัดเลือกเข้าสู่การวิเคราะห์อภิมาน (inclusion) ได้แก่ “pay-for-performance,” “merit pay,”
“bonus pay,” “monetary reward” หรือ “performance-based pay”ส่วนขอบเขตความหมายของผล
การปฏิบัติงานนั้น จะครอบคลุมผลการปฏิบัติงานทางการเงิน (financial performance) เช่น ยอดขายที่
78
ค่านิยมนี้เป็นผลการศึกษาของ House et al. (2004) ภายใต้โครงการ GLOBE project ซึ่งเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและค่านิยมการท างานของพนักงานใน 62
ประเทศ ทั่วโลก ผู้สนใจสามารถเข้าไปดูผลการศึกษาได้ที่ https://globeproject.com/
324