Page 330 - thaipaat_Stou_2563
P. 330

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                           ั
                                                      ื่
               หน่วยงานภาครัฐบางแห่ง อาจพฒนาเกณฑ์เพอวัดความส าเร็จได้โดยง่าย ดังตัวอย่างเช่น ส านักงานต ารวจ
                                                                                      ื้
                                                                                                ึ
               แห่งชาติ อาจใช้เกณฑ์วัดความส าเร็จจากการลดลงของจ านวนอาชญากรรมในพนที่ ความพงพอใจของ
               ประชาชนผู้ใช้บริการในสถานีต ารวจ หรือจ านวนข้อร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชนต่อการปฏิบัติงานของ
               ต ารวจ แต่การวัดความส าเร็จของการปฏิบัติราชการในหน่วยงานอย่างกระทรวงวัฒนธรรม หรือกระทรวงการ
               ต่างประเทศ ก็อาจเป็นเรื่องที่ไม่ง่ายนัก ทั้งนี้ มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์บางท่านถึงกับกล่าวว่า ใน
               ยุคของ New Public Management ค่านิยมที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติราชการ

               (efficiency and effectiveness) โดยใช้กระบวนการวัดผลส าเร็จที่เข้มข้นและเน้นการให้รางวัลตอบแทนตาม
               ผลส าเร็จ อาจเข้ามาแทนที่ค่านิยมหลักเดิมของหน่วยงานภาครัฐที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเท่าเทียมกันใน
               สังคม (equity) (Andrews & Entwistle, 2013; Bozeman, 2008; de Graaf, Gjalt, Huberts, &
               Smulders, 2016; Frederickson, 2005)

                       2.  กำรจ่ำยค่ำตอบแทนตำมผลงำนเป็นกำรส่งเสริมค่ำนิยมที่ให้ควำมส ำคัญกับเงินตรำ ซึ่งอำจ
               ส่งผลกระทบเชิงลบ (crowding out effect) ต่อค่ำนิยมพื้นฐำนของข้ำรำชกำรและระบบรำชกำรใน
               ภำพรวม
                       Rainey (2014) ได้ระบุถึงค่านิยมพนฐานของข้าราชการไว้ว่า ข้าราชการเมื่อเปรียบเทียบกับบุคคล
                                                     ื้
               ทั่วไปแล้วจะมีแรงจูงใจในการบริการสาธารณะ (public service motivation), การอทิศตนเพอส่วนร่วม
                                                                                         ุ
                                                                                                 ื่
               (self-sacrifice), ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และตนเอง (responsibility and accountability) และความ
               ซื่อสัตย์สุจริต (integrity) ในระดับที่สูง ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้ ถือเป็นแรงจูงใจภายใน (intrinsic motivation)

                                                                     ื่
               ที่ผลักดันให้ข้าราชการเหล่านี้เลือกที่จะเข้าสู่ระบบราชการ เพอปฏิบัติงานส่งมอบบริการสาธารณะให้แก่
               ประชาชน แต่ก็แลกด้วยการรับค่าตอบแทนที่ต่ ากว่าภาคเอกชน พร้อมกันนี้ มีผลการศึกษาจากต่างประเทศ
               จ านวนหนึ่งที่พบว่า ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานจะสร้างผลกระทบทางลบต่อตัวพนักงานที่
               ปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐและงานด้านการบริการสังคม (prosocial activities) ดังตัวอย่างเช่น การศึกษา
               ของ Belle (2015) ซึ่งใช้การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) กับกลุ่มพยาบาลที่ปฏิบัติงานใน

                                                 ิ
               สถานพยาบาลท้องถิ่นของรัฐในประเทศอตาลี จ านวน 400 คน และพบว่า การใช้วิธีการจ่ายค่าตอบแทนตาม
               ผลงาน จะลดทอนแรงจูงใจในการบริการสาธารณะ (public service motivation) และพฤติกรรมที่เออต่อ
                                                                                                      ื้
               สังคม (prosocial behaviors) ของพยาบาลในกลุ่มทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับ

               พยาบาลที่อยู่ในกลุ่มควบคุมที่ไม่ใช้วิธีการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน
                       ส าหรับระบบราชการไทยนั้น ผู้วิจัยเห็นว่ายังขาดการศึกษาเชิงประจักษ์ที่จะยืนยัน (หรือหักล้าง) ผล
               การศึกษาจากต่างประเทศเกี่ยวกับผลกระทบเชิงลบของการใช้ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานที่มีต่อ
               ระดับแรงจูงใจภายใน (intrinsic motivation) แรงจูงใจในการบริการสาธารณะ และพฤติกรรมเออต่อสังคม
                                                                                                 ื้
               ประเภทต่าง ๆ ในหมู่ข้าราชการ ซึ่งผู้อานที่สนใจอาจท าการศึกษาในประเด็นดังกล่าวในบริบทระบบราชการ
                                                ่
               ไทยต่อไปได้
                       3. ปัจจัยที่จะเสริมสร้ำงควำมส ำเร็จของกำรน ำระบบกำรจ่ำยค่ำตอบแทนตำมผลงำนมำใช้ใน
               หน่วยงำนภำครัฐไทย

                       ด้วยการวิเคราะห์พหุระดับของผู้วิจัยพบว่า ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานจะมีประสิทธิผลดี
               หากระบบดังกล่าวถูกประยุกต์ใช้ร่วมกับแนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ดีด้านอื่น ๆ ผลการศึกษา
               ที่ได้นี้สอดคล้องกับทฤษฎีของ Shaw, Dineen, Fang, and Vellella (2009) ที่เสนอว่า ระบบการบริหารงาน
               บุคคลที่ดีที่จะมีส่วนส่งเสริมให้พนักงานส่งมอบผลการปฏิบัติงานในระดับที่สูง รวมถึงสามารถธ ารงรักษา

               พนักงานคนเก่งเหล่านั้นให้คงอยู่กับองค์การ จะต้องสร้างดุลยภาพระหว่าง HRM Inducements และ HRM

                                                                                                     328
   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334   335