Page 370 - thaipaat_Stou_2563
P. 370
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
ทักษะ และสมรรถนะ ที่จ าเป็นไว้หลายประการ เพอครอบคลุมความรู้ความสามารถที่จะปฏิบัติงานได้ แต่
ิ่
ั
ื่
อย่างไรก็ตามควรเพมทักษะที่จ าเป็นส าหรับการเปลี่ยนแปลงในยุค Disruptive Change เพอให้การพฒนา
ี
บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปตามกระแสโลกก่อให้เกิดความเป็นสากล ซึ่งไม่เพยงเฉพาะจะ
ิ่
ท าให้บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติงานได้เฉพาะส่วนท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังเพมศักยภาพที่จะ
ั
สามารถรับมือกับสภาวะความผันผวนของโลกได้ จึงจะถือว่าเป็นการพฒนาที่รองรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่าง
แท้จริง
3. การสร้างวัฒนธรรมองค์การแห่งการเรียนรู้แบบ Learn Unlearn Relearn ซึ่งหมายถึงการเป็น
องค์การที่มีการเรียนรู้อย่างไม่หยุดนิ่ง ซึ่งเป็นรูปแบบวัฒนธรรมองค์การที่เหมาะสมกับกับยุค Disruptive
Change โดยวัฒนธรรมองค์การดังกล่าวหมายถึง การเป็นองค์การที่พร้อมจะเรียนรู้สิ่งใหม่อย่างต่อเนื่อง
(Learn) เป็นองค์การที่ไม่ยึดติดกับสิ่งที่เคยเรียนรู้มาและกล้าทิ้งสิ่งที่เป็นองค์ความรู้เดิมที่ไม่เป็นประโยชน์ไป
ถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว (Unlearn)
และเป็นองค์การที่พร้อมจะเรียนรู้สิ่งที่เคยรู้แล้วด้วยมุมมองใหม่ และตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ที่เราได้รับ
จากมุมมองนั้นๆ หมายถึงสามารถเรียนรู้บางอย่างในแง่มุมใหม่ได้เสมอ และสามารถพฒนาความรู้และทักษะ
ั
ได้ตลอดเวลา (Relearn)
สรุป
สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลันในยุค Disruptive change โดยมีสาเหตุจาก
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอย่างพลิกผัน (Disruptive Technology) ส่งผลต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่
เป็นหน่วยงานภาครัฐที่ท าหน้าหลักในการบริการสาธารณะแก่ประชาชนในพนที่ ตามหลักการกระจายอานาจ
ื้
แต่การเปลี่ยนแปลงระดับโลกอย่างสภาวะ Disruptive ถือเป็นความท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่
ื่
จะต้องปรับเปลี่ยนองค์การของตนเพอความอยู่รอดและตอบสนองความต้องการของภาคประชาชนได้อย่าง
เต็มที่
อย่างไรก็ตามการรับมือกับสภาวการณ์ที่เกิดขึ้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องปรับปรุงศักยภาพ
ขององค์การ โดยปัจจัยส าคัญที่มีส่วนในการที่จะท าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประสบความส าเร็จในยุคที่มี
ความผันผวน คือ ทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งถือเป็นปัจจัยส าคัญของการบริหาร ดังนั้นการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่
ั
ั
ถือเป็นหน้าที่ขององค์การต้องปฏิบัติตามแนวคิดการพฒนาทรัพยากรมนุษย์แนวใหม่ โดยแนวทางการพฒนา
ั
บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในยุค Disruptive Change ควรการปรับเปลี่ยน (1) กระบวนการทาง
ื่
ความคิด (Change Mindset) เพอปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรยุคเก่าและบุคลากรยุคใหม่ให้พร้อมรับมือ
ั
ต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น พร้อมกับพฒนากระบวนการทางความคิดไปสู่กรอบความคิดเติบโต (Growth
ั
mindset) ซึ่งมีผลต่อความเชื่อว่าคุณลักษณะของตนเองจะสามารถเปลี่ยนแปลงและพฒนาได้ (2) พฒนา
ั
ความรู้และทักษะของบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จ าเป็นส าหรับการเปลี่ยนแปลงในยุค
Disruptive Change เพอให้การพฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปตามกระแสโลก
ั
ื่
ก่อให้เกิดความเป็นสากล (3) การสร้างวัฒนธรรมองค์การแห่งการเรียนรู้แบบ Learn Unlearn Relearn ซึ่ง
หมายถึงการเป็นองค์การที่มีการเรียนรู้อย่างไม่หยุดนิ่ง ซึ่งเป็นรูปแบบวัฒนธรรมองค์การที่เหมาะสมกับกับยุค
Disruptive Change
368