Page 365 - thaipaat_Stou_2563
P. 365
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ั
ั
ทรัพยากรมนุษย์ (3) การก าหนดความต้องการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ (4) การออกแบบโครงการและพฒนา
ั
ั
หลักสูตรการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ (5) การก าหนดวิธีการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ (6) การประเมินผลการ
พฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งวิธีการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ได้ผลส าเร็จ 3 ประการ คือ การฝึกอบรม
ั
ั
ิ่
(Training) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และปรับทัศนคติส าหรับงานในปัจจุบัน การศึกษา (Education) เพื่อเพม
ั
ศักยภาพทางปัญญา พฒนาทักษะ และทัศนคติในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ส าหรับการปฏิบัติงานในอนาคต
ิ่
ั
ื่
และ การพฒนา (Employee Development) เพอเพมขยายโลกทัศน์ส าหรับการปฏิบัติงานและการปฏิบัติ
ตนในงานและสังคม โดยวิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปรากฏ คือ การฝึกอบรม
(Training) โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะจัดท าแผนพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พร้อม
กับระบุแนวทางการพัฒนาบุคลกร และผลักดันให้บุคลากรในหน่วยงานเข้ารับการพัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ
ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีการก าหนดงบประมาณเพอด าเนินโครงการฝึกอบรมเพอเพมสมรรถนะ
ื่
ื่
ิ่
และขีดความสามารถที่เหมาะสมกับงานหรือต าแหน่งงาน เพื่อช่วยให้บุคลากรในหน่วยงานสามารถเติบโตตาม
สายงานของตน (Career path) นอกจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้วยังมีหน่วยงานภายในของกรม
ั
ั
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่ท าหน้าที่ในการพฒนาบุคลากรท้องถิ่น คือ สถาบันพฒนาบุคลากรท้องถิ่น ซึ่ง
เป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมและพฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีคุณลักษณะเป็นไป
ั
ตามกรอบที่ก าหนด ทั้งในด้านความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ พร้อมกับการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมของ
บุคลากรขอองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย และนอกจากนี้ยังมีสถาบันการศึกษาต่างๆที่ท าหน้าที่เป็น
หน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในหลักสูตรต่างๆ
ที่สถาบันอุดมศึกษาจะสามารถจัดสรรให้ได้
อย่างไรก็ตามในโลกยุคปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างผันผวนอันเนื่องมากจากการพัฒนานวัตกรรม
เทคโนโลยีดิจิทัล ท าให้ปัจจัยสภาพแวดล้อมการบริหารไม่คงที ท าให้องค์การทุกภาคส่วนต้องปรับตัว ดังจะ
เห็นได้จากการก าหนดกรอบพฒนาให้สามารถทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อาทิ โมเดลการพฒนา
ั
ั
Thailand 4.0 กรอบการพฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้วยนวัตกรรมคุณค่าองค์ความรู้และเทคโนโลยี
ั
แห่งยุคดิจิทัล เป็นต้น ซึ่งมีผลท าให้การพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองท้องถิ่นนั้นปฏิเสธไม่ได้ว่าจะต้องให้
ความส าคัญกับการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพราะเป็นที่ยอมรับกันว่าในทรัพยากรการบริหารทั้งหมดนั้น
ั
ทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นปัจจัยที่มีความส าคัญมากที่สุดที่จะสามารถน าพาองค์การไปสู่การบรรลุเป้าหมายใน
สถานการณ์ Disruptive Change และสิ่งส าคัญต้องค านึงถึงความสามารถในการตอบสนองความต้องการของ
ภาคประชาชนที่ถือเป็นหัวใจส าคัญของการด าเนินภารกิจ แต่ขณะเดียวกันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้อง
ั
เผชิญกับความท้าทายต่างๆ ท าให้การพฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงมีบทบาทส าคัญที่จะเป็นปัจจัยหลักในการ
ขับเคลื่อนองค์การ ดังนั้นการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพและศักยภาพบนพนฐานที่โลกก าลังก้าวไป
ื้
ั
ข้างหน้าถือได้ว่าเป็นหน้าที่หลักและความท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นอย่างมาก
แนวคิดกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์บนพื้นฐำนของกำรเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
“ทรัพยากรมนุษย์” ถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าและมีความส าคัญต่อการปฏิบัติงานทุกประเภท ดังนั้นการ
ั
ั
พฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงถูกก าหนดให้เป็นนโยบายที่มีความส าคัญและเป็นยุทธศาสตร์ในการพฒนาประเทศ
ดังจะเห็นได้จากแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 เน้นการพฒนาที่ให้คนเป็นศูนย์กลางการ
ั
ั
พัฒนา จนกระทั่งถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ล้วนแต่ก าหนดให้มีประเด็นการพฒนา
ั
ทรัพยากรบุคคลเป็นประเด็นหลักในการพัฒนาประเทศ
กรอบแนวคิดของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Concept of Human Development) ที่เป็นแนวทาง
ในการพัฒนา ประกอบด้วย 2 แนวคิดหลักที่แตกต่างกัน (1) แนวคิดแบบดั้งเดิม มีแนวคิดที่มีความเชื่อว่าการ
363