Page 367 - thaipaat_Stou_2563
P. 367
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
การศึกษาเป็นส าคัญ นอกจากนี้ผลการศึกษางานวิจัยในประเด็นดังกล่าว ได้ปรากฏผลงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า
ั
การพฒนาทรัพยากรมนุษย์มีผลต่อศักยภาพและความส าเร็จขององค์การเป็นอย่างมาก แม้ว่าองค์กรปกครอง
ั
ส่วนท้องถิ่นในยุคปัจจุบันจะพบกับกระแส Disruptive Change แต่หลายองค์การยังมองว่าการพฒนา
ทรัพยากรมนุษย์จะเป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้องค์กรสามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้
ปิยนุช ชมบุญ และพรนภา เตียสุธิกุล (2562) ได้ศึกษาการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามนโยบาย
ั
ั
ประเทศไทย 4.0 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการพฒนาทรัพยากรมนุษย์
ตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ได้แก่ (1) ลักษณะที่พงประสงค์ ประกอบด้วยบุคคลที่รอบรู้ รูปแบบความคิด
ึ
การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้เป็นทีม และการคิดเชิงระบบ (2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย
ภาวะผู้น าโครงสร้างองค์การ เทคโนโลยีสารสนเทศยุคดิจิตอล และ วัฒนธรรมองค์การ โดยปัจจัยที่กล่าวมา
ข้างต้นเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการพฒนาบุคลากรตาม นโยบายประเทศไทย 4.0 และข้อเสนอแนะว่าในการ
ั
ั
พฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามนโยบายประเทศไทย 4.0 คือ ผู้บริหารองค์กรควรก าหนดเป็นนโยบายและ
แผนงานอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการจัดฝึกอบรมบุคลากรทุกระดับ สนับสนุนให้บุคลากรได้รับการศึกษาและเข้า
ั
รับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องเพอพฒนาการปฏิบัติงาน เพมทักษะหรือความช านาญ ความรู้ และ ทัศนคติที่ดี
ื่
ิ่
ั
ต่อการปฏิบัติงาน และควรให้ความส าคัญกับการพฒนา และการธ ารงรักษาบุคลากร เพอเป็นการเสริมสร้าง
ื่
แรงจูงใจ ความก้าวหน้าในต าแหน่งงานให้แก่บุคลากรในองค์กร ซึ่งจะน ามาสู่ ความส าเร็จในการท างาน
ความก้าวหน้า และความยั่งยืนขององค์การ
ั
ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ วงพกตร์ ภู่พนธ์ศรี และวีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ (2561)
ั
ท าการศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การ:กรณีศกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ึ
ั
ในจังหวัดระยอง พบว่าปัจจัยการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์การในภาพรวม โดย
พบว่า ด้านการฝึกอบรม ด้านการพฒนา และด้านการเรียนรู้ ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์การพฒนา
ั
ั
ทรัพยากรมนุษย์มีผลต่อประสิทธิผลองค์การ ดังกล่าวนั้นจึงเป็นสิ่งที่ประจักษ์ชัดได้ว่าการพฒนาทรัพยากร
ั
มนุษย์ถือเป็นสิ่งส าคัญและจ าเป็นสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ั
ควรให้ความส าคัญอนจะน าพาองค์การไปสู่การบรรลุซึ่งประสิทธิผลองค์การได้ เพราะทั้งการพฒนาทรัพยากร
ั
มนุษย์ไม่ว่าจะเป็นด้านการฝึกอบรม ด้านการพฒนา ด้านการเรียนรู้ หรือ ด้านการศึกษาล้วนส่งผลต่อ
ั
ประสิทธิผลองค์การทั้งสิ้น
กำรพัฒนำบุคลำกรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในยุค Disruptive Change
ั
แนวโน้มของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุค Disruptive Change ที่มีผลมาจากการพฒนา
นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลนั้น กลายเป็นปัจจัยหลักต่อการก าหนดทิศทางการท างานของฝ่ายบริหารทรัพยากร
มนุษย์ในทุกองค์การ โดยแนวโน้ม 7 ประการนี้ เป็นสิ่งที่องค์การต้องให้ความสนใจและตระหนัก เพอน าไป
ื่
ปรับใช้กับการก าหนดกลยุทธ์การบริหารองค์การ (ศิริยุพา รุ่งเริงสุข, 2561) ได้แก่ (1) The
Millennials หรือ Gen Me ภายในปี 2568 จะมีพนักงานในองค์การที่อยู่ในกลุ่มวัย The Millennials หรือ
Gen Me มากกว่าร้อยละ 75 ซึ่งหมายถึงคนที่เกิดระหว่างปี 2523-2543 ซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลที่มี
บุคลิกลักษณะของความเป็นตัวเองสูง และถือตนเองเป็นศูนย์กลาง จากข้อมูลสถิติในประเทศสหรัฐอเมริกา
พบว่าประชากรดังกล่าวเป็นกลุ่มประชากรที่มีการศึกษาสูง มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี แต่มี
แนวโน้มจะเปลี่ยนงานบ่อย (2) เทคโนโลยีและนวัตกรรมจะเป็นใหญ่ส าหรับพนักงาน การบริหารทรัพยากร
มนุษย์ในยุคนี้จ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีเพอมาอานวยความสะดวกให้พนักงานสามารถเข้าถึงการ
ื่
ท างานได้มากขึ้น เช่น การเปลี่ยนรูปแบบการประชุมเป็นในลักษณะ Social Conference เป็นต้น (3) ผลของ
โครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์จะต้องตอบสนองความต้องการของพนักงานใน
365