Page 368 - thaipaat_Stou_2563
P. 368

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ประเด็นต่างๆ เช่น ในอนาคตแรงงานหญิงจะเป็นแรงงานหลักในประเทศ จ านวนของแม่เลี้ยงเดี่ยว (Single
                                 ิ่
                                                                                     ั
               Mum) ที่มีปริมาณเพมขึ้น (4) Smart Office  ความต้องการให้หน่วยงานที่มีอยู่พฒนาเป็น Smart Office
               เพราะในอนาคตบุคลากรอาจไม่จ าเป็นต้องท างานหน่วยงาน สืบเนื่องจากการพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีในยุค
               ดิจิทัล ปัจจัยนี้อาจน ามาก าหนดการท างานของฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้ (5) รูปแบบการ
               ท างานที่ไม่ต้องพบหน้ากันแต่สามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากจ านวนร้อยละ 57 ของพนักงานทั่ว
               โลก มีมุมมองชื่นชอบการท างานในลักษณะที่สามารถสนทนาได้แบบตัวต่อตัว แต่ปัจจุบันกระแสในหลาย

               ประเทศเริ่มเปลี่ยนทิศทางการท างานในลักษณะที่ไม่จ าเป็นต้องท างานร่วมกันแบบตัวต่อตัว แต่อาศัย
                                                                                        ี
               นวัตกรรมเทคโนโลยีแห่งยุคดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารแทน (6) การเข้ามามบทบาทอย่างรวดเร็ว
               ของ Virtual Reality & AI  เทคโนโลยี Virtual Reality (VR) ดังกล่าวคือการจ าลองสภาพแวดล้อมเสมือนจริง
               โดยผ่านการรับรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 4 ของมนุษย์ และ AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์ จะเข้ามามีบทบาทในการ

               ท างานของมนุษย์ยุคนี้อย่างรวดเร็วขึ้นกว่าที่เคยคาดการณ์ไว้ โดยจ านวนร้อยละ 46 ของคนท างานทั่วโลกมี
               มุมมองว่าเทคโนโลยีล้ ายุคนี้จะช่วยเพมประสิทธิภาพประสิทธิผลในการท างานได้ การบริหารทรัพยากรมนุษย์
                                              ิ่
                                                                                          ั
                                                      ื่
               จึงจ าเป็นต้องศึกษาแนวโน้มของเทคโนโลยีเพอปรับทิศทางการท างานให้ตอบสนองการพฒนาศักยภาพของ
                                 ี
               พนักงานในองค์การอกทางหนึ่งได้ และ (7) การเป็นองค์การที่เออต่อการพัฒนาศักยภาพของพนักงานทุกด้าน
                                                                    ื้
                                                                            ั
               แนวโน้มการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ต้องเปิดกว้างให้พนักงานสามารถพฒนาศักยภาพของตนเองเพอให้ได้
                                                                                                    ื่
               ประสิทธิภาพสูงสุดในการท างานควบคู่ไปกับการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีโอกาสในการพฒนาตนเองที่ทัดเทียมกับ
                                                                                     ั
               เพื่อนร่วมงานในบรรยากาศการท างานที่มียืดหยุ่นและเสมอภาค
                       ความท้าทายในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ใน Disruptive Change นี้ นอกเหนือจากแนวโน้มที่
               องค์การต้องให้ความส าคัญแล้ว การสร้างวิธีคิดแบบเติบโตหรือ Growth mindset ให้กับบุคลากรในองค์การ
               นั้นจึงเป็นสิ่งส าคัญ โดยให้บุคลากรพร้อมเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และสามารถเปลี่ยนทัศนคติ (mindset) ได้นั่น
               หมายถึงบุคลากรทุกคนเข้าใจเป้าประสงค์ขององค์การอย่างแท้จริง (Techsauce Team, 2561)
                       การพฒนาบุคลากรถือเป็นหัวใจส าคัญในการท าให้องค์การประสบความส าเร็จในยุค Disruptive
                           ั
               Change พบว่าทักษะและความรู้ที่จ าเป็นส าหรับการปฏิบัติงานให้ทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปมีดังนี้ (1)
               Business Acumen ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการด าเนินธุรกิจ (2) Digital Literacy ความรู้ความเข้าใจ
               เกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ (3) Effective Communication การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (4) Data

               Analytics การคิดเชิงวิเคราะห์และประมวลข้อมูลเชิงลึก (5) Agility ความกล้าที่จะเรียนรู้และปรับตัวกับสิ่งที่
               เปลี่ยนแปลงไป (6) Change Management การเป็นผู้น าความเปลี่ยนแปลงและรับมือกับความเปลี่ยนแปลง
               (7) Leadership & Navigation ภาวะผู้น าและบทบาทของการเป็นผู้น า (8) Creativity การมีความคิดริเริ่ม
               (9) Expertise ความเชี่ยวชาญอย่างมืออาชีพ (10) Design Thinking การคิดเชิงออกแบบใหม่






















                                                                                                     366
   363   364   365   366   367   368   369   370   371   372   373