Page 366 - thaipaat_Stou_2563
P. 366

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                                             ั
               สรรหาและการคัดเลือกเป็นปัจจัยที่ส าคัญต่อความส าเร็จขององค์การ โดยมีมุมมองว่าการพฒนาทรัพยากร
               มนุษย์เป็นสิ่งที่ไม่จ าเป็นส าหรับองค์การ และไม่ใช่หน้าที่ที่องค์การจะต้องจัดให้ แต่มีทัศนะที่ว่าองค์การมี

                               ี
               หน้าที่เฉพาะแต่เพยง ควบคุมให้พนักงานแต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ตามค าสั่งหรือตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
                                             ู
                                          ิ่
               เท่านั้น หากบุคคลใดต้องการเพมพนความรู้ก็ต้องดิ้นรนขวนขวายหาด้วยตัวเอง และเชื่อว่าองค์การสามารถ
               สรรหาบุคคลที่มีความรู้ความสามารถแล้วตั้งแต่แรกที่เข้ามาอยู่ในองค์การ บุคคลนั้นย่อมจะสามารถปฏิบัติ
               หน้าที่ได้ทุกอย่างตลอดไป ไม่จ าเป็นต้องเข้ารับการพฒนาฝึกอบรมใดๆ (2) แนวคิดแบบสมัยใหม่ เป็นแนวคิด
                                                           ั
                                ั
               ที่มีมุมมองว่าการพฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหน้าที่ส าคัญและจ าเป็นที่องค์การต้องกระท าอย่างสม่ าเสมอ
               แม้ว่าองค์การจะมีระบบการสรรหาและการคัดเลือกบุคคลที่มีประสิทธิภาพ แต่ก็ไม่ได้เป็นหลักประกันว่าบุคคล
               นั้นจะสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ในทันทีและตลอดไป นอกจากนี้แนวคิดดังกล่าวมีทัศนะว่าบุคคล
               จะต้องปรับปรุงตนเองให้เป็นผู้ที่มีความรู้ความคิดที่ทันสมัยก้าวทันโลกอยู่เสมอ เพราะการพฒนาที่ไม่หยุดนิ่ง
                                                                                            ั
               มักก่อให้เกิดนวัตกรรมทางการบริหารเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพการท างานอย่างต่อเนื่อง
                       นอกจากนั้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ถกมองว่าเป็นกระบวนการวางแผนอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนา
                                                        ู
               ศักยภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน และปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานขององค์การให้สูงขึ้น
               ด้วยวิธีการฝึกอบรม การให้การศึกษา และการพัฒนา ท าให้ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ครอบคลุม

               ใน 3 ส่วน ได้แก่ (Nadler and Wiggs, 1989 อ้างใน ดนัย เทียนพุฒ)
                                                                      ื่
                           1. การฝึกอบรม (Training) เป็นกระบวนการที่จัดขึ้นเพอการเรียนรู้ส าหรับงานปัจจุบัน มุ่งหวังให้ผู้
               เข้ารับการอบรมสามารถน าความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ทันทีหรือมีพฤติกรรมการท างานที่เปลี่ยนแปลงไป

               ตามความต้องการขององค์การ การฝึกอบรมมีความเสี่ยงอยู่บ้าง ที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่อาจท างานได้ตาม
               ความมุ่งหวังขององค์กร อาจเป็นเพราะการจัดหลักสูตรยังไม่เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น
               ขั้นตอนการท างาน เทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้ หรือสภาพการแข่งขันผันแปรไปจากที่ได้คาดคะเนไว้
                           2. การศึกษา (Education) เป็นกระบวนการที่จัดขึ้น เพอเตรียมบุคคลให้มีความพร้อมที่จะท างาน
                                                                       ื่
               ตามความต้องการขององค์กรในอนาคต การศึกษายังคงต้องเกี่ยวกับการท างานอยู่ แต่จะแตกต่างไปจากการ

               ฝึกอบรม เนื่องจากเป็นการเตรียมเรื่องงานในอนาคตที่แตกต่างไปจากงานปัจจุบัน การศึกษาจึงเป็นการเตรียม
               บุคลากรเพื่อการเลื่อนขั้นต าแหน่ง (Promotion) หรือให้ท างานในหน้าที่ใหม่
                           3. การพัฒนา (Development) เป็นกระบวนการที่จัดขึ้นเพอให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์แก่
                                                                         ื่
               บุคลากรขององค์กร เป็นการช่วยเตรียมความพร้อมของบุคลากรส าหรับการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นใน
               อนาคตและจุดหมายที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรขององค์การ ช่วยให้บุคลากรขององค์การได้เพมพนความรู้ ได้
                                                                                            ิ่
                                                                                               ู
               แสดงขีดความสามารถของตน ได้แสดงความคิดเห็นรวมทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้บุคลากรได้แสดง
               ความสามารถ ศักยภาพที่ซ่อนเร้นอยู่ภายในออกมา

                       นอกจากนี้การพฒนาทรัพยากรมนุษย์ยังถูกให้ความหมายในมุมมองของการพฒนาระดับองค์การว่า
                                    ั
                                                                                       ั
               คือ การน ากิจกรรมที่มีการก าหนดรูปแบบอย่างมีระบบมาใช้เพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ความสามารถ และปรับปรุง
               พฤติกรรมของพนักงานให้ดีขึ้นโดยมุ่งเน้นพัฒนาใน 3 ส่วนคือ การพัฒนาบุคคล (Individual Development)
               การพฒนาสายอาชีพ (Career Development) และการพฒนาองค์การ(Organization Development)
                                                                  ั
                    ั
               (Gilley and Eggland, 1990 อ้างใน นิสดารก์ เวชยานนท์)
                       จากการศึกษากรอบแนวคิดการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่าการ
                                                   ั
                                                                                   ั
               พฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปตามแนวคิดการพฒนาทรัพยากรมนุษย์แบบ
                 ั
                                                                                    ั
                                            ั
               สมัยใหม่ที่ให้ความส าคัญกับการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีมุมมองที่มุ่งเน้นว่าการพฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็น
                                                   ั
               หน้าที่ขององค์การ และรูปแบบของการพฒนาทรัพยากรมนุษย์มักใช้รูปแบบการฝึกอบรม การสนับสนุน
                                                                                                     364
   361   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371