Page 376 - thaipaat_Stou_2563
P. 376

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                      Introduction
                       “ผมเชื่อเสมอว่า เมืองที่เต็มไปด้วยป่าคอนกรีต จะท าลายจิตวิญญาณความเป็นมนุษย์ สิ่งที่เรา

               ต้องการคือธรรมชาติที่เต็มไปด้วยพื้นที่สีเขียว เพื่อยกระดับจิตวิญญาณของเรา”
                                                                                                        89
                                                                                                                        ลี กวน ยู, 1995

                       การศึกษาลักษณะภาวะผู้น าจากประเทศที่ประสบความส าเร็จอย่างสูงอย่างสิงคโปร์ที่เป็นที่หนึ่งของ

                                90
               โลกทั้งทางเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม  ย่อมให้บทเรียนที่ส าคัญต่อการพัฒนาในทุกประเทศ  อาจกล่าวได้ว่า
                                               91
               มีประเทศในโลกนี้อย่างน้อยสี่ลักษณะ คือ ลักษณะที่หนึ่งประเทศที่อดมสมบูรณ์และ มีผู้น าที่มีวิสัยทัศน์และ
                                                                         ุ
               เปี่ยมด้วยคุณธรรม (ซึ่งถือว่าโชคดีเป็นสองชั้น) ลักษณะที่สอง ประเทศที่อดมสมบูรณ์อย่างเดียวแต่ขาด
                                                                                ุ
               องค์ประกอบด้านความสามารถและวิสัยทัศน์ของผู้น า ลักษณะที่สาม คือ ประเทศที่ทรัพยากรไม่สมบูรณ์และ
                                      ั
               ผู้น าขาดวิสัยทัศน์ในการพฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม สิงคโปร์กลับไม่เป็นทั้งสามลักษณะที่กล่าวมา แต่มี
                                                                        ั
               ลักษณะแบบที่สี่ กล่าวคือ ทรัพยากรไม่สมบูรณ์แต่มีผู้น าเชิงกลยุทธ์อนชาญฉลาด มีคุณธรรมและวางรากฐาน
                                                      ั
               การพฒนาประเทศไว้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และพฒนาสิ่งแวดล้อมไว้อย่างยั่งยืนในระดับแถวหน้าของโลก  โดย
                    ั
               ภาพรวมสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีลักษณะมีพนที่ขนาดเล็ก สภาพภูมิศาสตร์เป็นเกาะ ปราศจากทรัพยากรทาง
                                                    ื้
               ธรรมชาติและปัจจัยการผลิตที่ส าคัญในทางเศรษฐกิจ ซึ่งกลายเป็นปัญหาที่ส าคัญที่สุด  อย่างไรก็ตาม ลี กวนยู
               กลับสามารถพลิกประเทศสิงคโปร์ให้มาเป็นประเทศชั้นน าของโลกได้อย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจต่อ
               การค้นหาลักษณะผู้น าเชิงกลยุทธ์และแนวทางที่พฒนาประเทศของผู้น าระดับโลกท่านนี้ ส าหรับการศึกษา
                                                          ั
                                                                                                        93
                                                                 92
               ภาวะผู้น านั้น มีงานวิจัยและหนังสือมากกว่า 35,000 เรื่อง และ มีการศึกษามากมายและหลายลักษณะ
               อย่างไรก็ตาม การศึกษาภาวะผู้น ากับการจัดการเชิงกลยุทธ์จะพบในบริบทของภาคธุรกิจเป็นส่วนใหญ่
               การศึกษาลักษณะของผู้น าและภาวะผู้น าในภาครัฐนั้นพบน้อยกว่ามาก โดยเฉพาะการศึกษาผู้น าประเทศใน
               บริบทของการจัดการเชิงกลยุทธ์ภาครัฐ อนึ่งการศึกษาภาวะผู้น าที่ผ่านมาโดยภาพรวมอาจกล่าวได้ว่ามีทั้งหมด
               9 ยุคที่ส าคัญได้แก่ ยุคบุคลิกลักษณะ ยุคอทธิพล ยุคพฤติกรรม ยุคสถานการณ์ ยุคเหตุและปัจจัย ยุคติดต่อ
                                                   ิ
               ยุคต่อต้านภาวะผู้น า ยุควัฒนธรรมและยุคการเปลี่ยนแปลง ส าหรับผู้น าเชิงกลยุทธ์นั้นอยู่ในยุคการ
               เปลี่ยนแปลง(Transformational Era)ในยุคนี้การศึกษาภาวะผู้น ามีการพฒนาอย่างมากภายใต้สมมุติฐานที่
                                                                             ั
               เป็นจริงว่าภาวะผู้น านั้นขึ้นอยู่กับการกระตุ้นภายใน (Intrinsic Motivation) ผู้น าจะต้องเป็นผู้น าเชิงรุกมากขึ้น

                                                                       94
               กล้าเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรม สร้างสรรค์ และกล้าเปิดรับสิ่งใหม่ๆ  อนึ่ง มีนักวิชาการที่อธิบาย ภาวะผู้น า
               เชิงกลยุทธ์ ไว้ว่าเป็นแนวคิดเชิงวิสัยทัศน์ที่จะท าให้คนก้าวไปสู่ความเป็นเลิศซึ่งประกอบด้วย การมีวิสัยทัศน์
                                                                               ุ่
               เฉพาะตน มีจุดมุ่งหมายที่มุ่งไปสู่ความส าเร็จในอนาคต และการเป็นผู้มีความมงมั่นที่ดี มีความมุ่งมั่นที่จะลงมือ
               ปฏิบัติ มุ่งมั่นฝึกฝนให้เกิดความช านาญ และมีการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลรวมด้วย  (Senge, 1990) และ



               89  https://becommon.co/life/singapore-greenery/ค้นคืนเมื่อ 24 พฤศิกายน 2562
               90 พิจารณาจากดัชนีความสามารถทางการแข่งขันระดับโลกประจ าปี 2019 (Global Competitiveness Index : GCI) ซึ่งเป็นรายงานจาก
               “World Economic Forum” บ่งชี้ขีดความสามารถในการแข่งขันของ 141 ประเทศ สิงคโปร์อยู่อันดับที่ 1 ประเทศที่มีความสามารถในการ
               แข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก ขณะที่ประเทศไทยอยู่ที่อันดับ 40 ของโลก
               91 ในปี 2017 สิงคโปร์มีสวนสาธารณะเพิ่มขึ้นเป็น 350 แห่ง และได้รับการจัดอันดับจาก Sensable Lab ของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเส็ทส์
               (MIT) และ World Economic Forum (WEF) ให้เป็นเมืองที่มีความหนาแน่นของพื้นที่สีเขียวมากที่สุดในโลก
               92 ดูเพิ่มเติมได้ใน  S. Killian, “The ABC of Effective Leadership: A Practical Overview of Evidence Based Leadership Theory,”
               Australian Leadership Development Centre, 2007.
               93  ดูเพิ่มเติมได้ใน ติน  ปรัชญพฤทธิ์ (2550).  “ภาวะผู้น าและการมีส่วนร่วม” หน่วยที่ 11 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ สาขาวิชาวิทยาการ
               จัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี พิมพ์ครั้งที่ 29 ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
               94  สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ใน  B. M. Bass. Leadership and Performance beyond Expectations (New York: Free Press, 1985)
                                                                                                     374
   371   372   373   374   375   376   377   378   379   380   381