Page 378 - thaipaat_Stou_2563
P. 378

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                                   ิ
                  ื่
               เพอให้มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน ในองค์การภาครัฐจะต้องพจารณาดูว่าการจัดบริการ
               สาธารณะและการให้บริการที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนั้นได้ตอบสนองต่อภารกิจของการมีอยู่ของหน่วยงานและ
                      ึ
               ความพงพอใจจากคุณภาพการได้รับบริการของประชาชนหรือไม่ประกอบกัน เพอที่หน่วยงานจะได้ด าเนินกล
                                                                                  ื่
               ยุทธ์ที่มีความเหมาะสมต่อไป 5)ผู้น าเชิงกลยุทธ์สามารถสร้างวิสัยทัศน์ (Creating a version) สามารถก าหนด
                                                                         ึ
               ความต้องการที่จะให้หน่วยงานเป็นในอนาคต หรือสภาพการณ์ที่พงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นอนเป็น
                                                                                                    ั
               เป้าหมายร่วมกันของทุกๆคนในองค์การ ซึ่งมักมีลักษณะกว้างๆ โดยยังไมได้ก าหนดวิธีการเอาไว้ โดยวิสัยทัศน์
                                                                           ่
                                                                            ี่
               เป็นรูปแบบของข้อเสนอแนะที่ไม่เจาะจงและได้บอกต าแหน่งหรือทิศทางทมุ่งหมายให้หน่วยงานก้าวไปได้
                       ส าหรับในทางปฏิบัติ ผู้เขียนค้นพบผู้น าเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐที่โดดเด่นจากกรณีศึกษาภาวะผู้น าเชิงกล
               ยุทธ์ของ ลี กวนยู  ในการพัฒนาประเทศสิงคโปร์ ซึ่งค้นพบลักษณะที่ส าคัญ ดังนี้
                       ประวัติ ลี กวนยู และสำระส ำคัญโดยสังเขป

                       รัฐบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ ลี กวนยู  เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 เขาเกิดในยุคที่สิงคโปร์เป็น
               อาณานิคมขององกฤษ ในครอบครัวชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีน   ได้รับทุนเข้าเรียนที่ ราฟเฟิลส์ คอลเลจ ประเทศ
                             ั
               สิงคโปร์ ที่ซึ่งลี กวน ยูได้เป็นเพอนร่วมรุ่นกับ ตันกู อบดุล รามาน ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นนายกรัฐมนตรีของ
                                                            ั
                                          ื่
               มาเลเซีย  ลี กวนยูได้รับการศึกษาต่อทางด้านกฎหมายที่ฟตซ์วิลเลียม คอลเลจ ในมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์
                                                                 ิ
               ประเทศองกฤษ และที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์นี้  ลี กวนยู ได้พบกับ กวาก๊อกชู ซึ่งได้สมรสกันในเวลาต่อมา ลี
                        ั
                                                                          ั
               กวนยู ได้กลับมายังสิงคโปร์ ขณะนั้นอยู่ภายใต้การเป็นอาณานิคมขององกฤษ โดยเริ่มต้นจากการเป็นเป็นนัก
               กฎหมาย ก่อนที่จะมาสู่เส้นทางการเมืองโดยได้จัดตั้งพรรคกิจประชาชน (People's Action Party- PAP) ขึ้น

               ในปี พ.ศ. 2493 และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2502 เขาก็ได้รับต าแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ ขณะที่มีอายุ
                                                                      ั
               35 ปี หลังจากมาเลเซียได้อสรภาพจากการเป็นอาณานิคมขององกฤษในปี พ.ศ. 2504 ลีกวนยู ได้เจรจา
                                       ิ
               ร่วมกับ ตนกู อับดุล ราห์มาน นายกรัฐมนตรีของมาเลเซีย โดยมีแนวความคิดร่วมกันว่าจะรวมสิงคโปร์เข้ากับ
                              ั
                                    ั
               มาเลเซียให้เป็นอนหนึ่งอนเดียวกัน เพราะเล็งเห็นว่าสิงคโปร์นั้นไม่มีทรัพยากรธรรมชาติที่จะเกื้อหนุนให้เกิด
                    ั
               การพฒนาตนเองไปสู่การเป็นประเทศที่พร้อมสมบูรณ์ในทุกๆ ด้านได้ และแนวความคิดนี้ส าเร็จในปี พ.ศ.
               2505 แต่แล้วอีก 2 ปีต่อมาก็ถูกต่อต้านจากชาวมาเลเซียที่ไม่ต้องการให้ชาวสิงคโปร์ซึ่งมีวัฒนธรรมที่แตกต่าง
               จากมาเลเซียนั้นเข้ามาอยู่ร่วมชาติเดียวกับตน  ขณะเดียวกันที่ชาวสิงคโปร์ก็ไม่ได้ชอบใจในการถูกเหยียดชน
               ชั้นจึงกลายเป็นการจลาจลครั้งใหญ่ ในท้ายที่สุดนั้น ลี กวน ยู ได้ตัดสินใจน าสิงคโปร์แยกออกมาจากมาเลเซีย

                                                                      ี
                                                                ั
               และได้ตัดสินใจประกาศอิสรภาพไม่ตกเป็นอาณานิคมขององกฤษอกต่อไปตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2508
               เป็นต้นมา
                       ปัญหำส ำคัญของสิงคโปร์ในช่วงไม่มีมำเลเซียเป็นที่พึ่ง
                        หลังจากสิงคโปร์แยกตัวเป็นอสระจากมาเลเซีย คือ ความแตกต่างของประชากรที่มีหลายเชื้อชาติ
                                                ิ
               และภาษา ทั้งคนจีน คนมาเลย์ และคนอนเดีย ซึ่งน ามาสู่ วัฒนธรรมทางสังคมที่หลากหลาย ในขณะเดียวกัน
                                                 ิ
                                       ี
               เรื่องเศรษฐกิจกลายเป็นอกปัญหาส าคัญที่รอการแก้ไข เพราะรัฐบาลสิงคโปร์ไม่มีเงินสด เงินส ารอง
               ภายในประเทศ และเงินส ารองระหว่างประเทศขาดแคลน อตราการว่างงานของคนในประเทศเพมสูงมาก
                                                                                                  ิ่
                                                                   ั
                                                                                  ั้
               คุณภาพชีวิตของประชากรไม่สู้ดีนักในเรื่องที่อยู่อาศัย เรื่องระบบสาธารณูปโภคขนพื้นฐาน และเรื่องมาตรฐาน
                                                                                ื้
               การศึกษา และการที่สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีลักษณะ ภูมิศาสตร์เป็นเกาะ มีพนที่ขนาดไม่ใหญ่นัก กลายเป็น
               ปัญหาที่ส าคัญที่สุดเพราะท าให้ปราศจากทรัพยากร ทางธรรมชาติและปัจจัยการผลิตที่ส าคัญในทางเศรษฐกิจ
               ปัญหาเหล่านี้กลายเป็นสิ่งท้าทายส าหรับ ลี กวนยู ซึ่งในขณะนั้นเป็นนายกรัฐมนตรีและท าหน้าที่บริหาร
               ประเทศ โดย ลี กวน ยู พยายามสร้างชาติให้เกิดขึ้นอย่าง เป็นเอกภาพท่ามกลางความหลากหลายดังกล่าว




                                                                                                     376
   373   374   375   376   377   378   379   380   381   382   383