Page 380 - thaipaat_Stou_2563
P. 380
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ยิ่งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ ทักษะแรงงานมีฝีมือ รวมถึงการปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบ
ื้
ที่เอออานวยต่อการค้าและการลงทุน ไปสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากนวัตกรรม (Innovation-driven
Economy)
ประกำรที่สำม เป็นผู้สำมำรถน ำปัจจัยต่ำงๆมำก ำหนดกลยุทธ์ได้
ลี กวนยู สามารถน าปัจจัยต่างๆมาก าหนดกลยุทธ์ได้ โดยได้เลือกใช้ข้อได้เปรียบของที่ตั้งและท าเลมา
ื้
ก าหนดกลยุทธ์สืบเนื่องจากสิงคโปร์ เป็นเกาะขนาดเล็กที่มีพนที่เพยง 718.3 ตร.กม. ทรัพยากรธรรมชาติไม่
ี
สมบูรณ์ ขาดแคลน แม้กระทั่งน้ าจืด จ านวนประชากรและแรงงานมีจ านวนน้อย อย่างไรก็ตามสิงคโปร์ก็มีข้อ
ได้เปรียบทางท าเลที่ตั้งซึ่งนับว่าเป็นจุดแข็งทางยุทธศาสตร์ จึงด าเนินนโยบาย 3 ด้านที่ส าคัญ คือ 1) สร้างสิ่ง
ื้
ั
ื่
อานวยความสะดวกทางการค้า เช่น พฒนาโครงสร้างพนฐานที่ท่าเรือ และระบบคมนาคมขนส่งสู่ท่าเรือ เพอ
ุ
สนับสนุนข้อได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ ที่มีท่าเรือน้ าลึก 2)ด าเนินนโยบายพฒนาอตสาหกรรมที่ต้องอาศัย
ั
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง และสร้างแรงจูงใจให้เอกชน โดยลดภาษี ลดขั้นตอนความยุ่งยากของ
ิ่
กฎระเบียบการค้า และ 3) เพมศักยภาพของเจ้าหน้าที่รัฐให้เข้าใจถึงยุทธศาสตร์การด าเนินธุรกิจของเอกชน
เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างรัฐ กับเอกชน ซึ่งต่อมาทั้งสามนโยบายประสบความส าเร็จเป็นอย่างดี
ประกำรที่สี ลี กวนยู กล้ำใช้นโยบำยที่โดดเด่น
โดยพิจารณาได้จากการใช้ นโยบายทางเศรษฐกิจที่โดดเด่นจนท าให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางทางการเงิน
ิ
ที่มีอทธิพลต่อเศรษฐกิจโลก นโยบายการสร้างเมืองด้านสิ่งแวดล้อมที่โดดเด่น Garden City ที่ลี กวนยู
ื่
ื้
ประกาศอย่างเป็นทางการในปี 1967 เพอเปลี่ยนสิงคโปร์ให้เป็นเมืองที่เต็มไปด้วยพนที่สีเขียวและมี
สภาพแวดล้อมที่สะอาด ซึ่งนอกจากจะเพมคณภาพชีวิตที่ดีให้กับประชาชนแล้ว เขายังมองไกลว่าสิ่งนี้จะส่งผล
ิ่
ุ
ต่อภาพลักษณ์ของสิงคโปร์ ให้กลายเป็นเมืองจุดหมายปลายทางส าหรับนักท่องเที่ยวและนักลงทุน ตลอดจนมี
นโยบายที่โดดเด่นจนสามารถสร้างชาติอย่างเป็นปึกแผ่นคือ นโยบายการปราบการคอรัปชั่น การรณรงค์ทาง
วัฒนธรรมค่านิยมของชาติ ในด้านการเมืองสามารถสร้างเสถียรภาพทางการเมืองอย่างมั่นคงได้แก่ การจัดตั้ง
พรรคกิจประชาชน (People's Action Party- PAP) ที่ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนจากยุค ลีกวนยู จนถึง
ปัจจุบันยังคงมีความเข้มแข็ง ที่ส าคัญและโดดเด่นอย่างยิ่งคือ นโยบายการให้ความส าคัญทางการศึกษา โดย
ั
ก าหนดเป้าหมายทรัพยากรมนุษย์เป็นการพฒนาที่ส าคัญที่สุด เพราะสิงคโปร์รู้ดีว่าประเทศไม่มี
ื่
ั
ทรัพยากรธรรมชาติใดที่จะแข่งขันกับประเทศอนๆ จึงลงทุนพฒนาคนอย่างจริงจัง ระบบการศึกษาซึ่งใน
ื้
ขณะนั้นมีปัญหามากมายที่ไม่เออต่อการพฒนาประเทศ เช่น มีโรงเรียนหลายรูปแบบหลายเชื้อชาติ เน้นจ า
ั
มากกว่าวิเคราะห์ จึงมีการปรับมาเป็นแบบแพ้คัดออก นักเรียนต้องผ่านการสอบอย่างเข้มงวดเนื่องจากรัฐบาล
ให้ความส าคัญกับคุณภาพการศึกษาเป็นอย่างมาก และนักเรียนทุกคนต้องเรียนสองภาษา คือภาษาพ่อแม่ และ
ื่
ั
ั
ภาษาองกฤษ โดยให้ความส าคัญกับภาษาองกฤษมากที่สุดเพอจะได้สื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเต็มที่
ตลอดจน นโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยชั้นน าระดับโลก ขึ้น เช่น การจัดตั้งมหาวิทยาลัย เนชั่น ยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ
สิงคโปร์ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก มีอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกมาประจ าจ านวนมากที่มหาวิทยาลัย
เป็นต้น
ประกำรที่ห้ำ เป็นผู้มีควำมเข้ำใจอย่ำงเป็นระบบในระดับสูง
เห็นได้ชัดจากการให้ความส าคัญทั้งเรื่อง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี
ตลอดจนมีการพฒนาอย่างเป็นล าดับขั้นเริ่มด้วยการตั้งเป้าหมายเป็นประเทศอตสาหกรรมใหม่ (NIC) โดย
ุ
ั
ด าเนินยุทธศาสตร์การพฒนาอตสาหกรรมเพอการส่งออก (Export-oriented Industrialization)ไปสู่การ
ุ
ื่
ั
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากนวัตกรรม (Innovation-driven Economy)ควบคู่กับการมุ่งบรรลุเป้าหมายทรัพยากร
มนุษย์เป็นส าคัญโดยมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก ในทางสังคมให้เคารพและยอมรับกลุ่มเชื้อชาติ และ
378