Page 377 - thaipaat_Stou_2563
P. 377

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                  ื่
                                                          ั
               เป็นการท างานที่หลากหลายหน้าที่ซึ่งมีความสัมพนธ์กับผู้อน ผู้น าจะคอยช่วยเหลือในการจัดการองค์การ
               ภายใต้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยอาศัยมุมมองระยะยาว มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและมีขอบเขตความ
                                                          ื่
               รับผิดชอบทั่วทั้งองค์การ (Huey,1994)และมุ่งเพอให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ (Yukl, 2010) (รัตติ
               กรณ์ จงวิศาล ,2559) (รังสรรค์ ประเสริฐศรี,2551)เป็นหลัก  อย่างไรก็ตาม มิได้มีการอธิบายความอย่าง
               เฉพาะเจาะจงลงมาที่การศึกษาในภาครัฐ เพราะส่วนใหญ่เป็นองค์ความรู้ที่อยู่ในมุมมองในภาคธุรกิจเป็นส าคัญ
               ในบทความวิชาการชิ้นนี้ ผู้เขียนจะใช้กรอบของผู้น าเชิงกลยุทธ์ตามองค์ประกอบของ ดูบริน (DuBrin) มาเป็น

               แนวทางในการอธิบายเบื้องต้น   จากนั้นท าการวิเคราะห์จากปรากฏการณ์การพฒนาของประเทศสิงคโปร์
                                                                                    ั
               ภายในขอบเขตและปริมณฑลทางวิชาการ (locus)ของภาครัฐโดยตรง และมุ่งจุดเน้น (Focus) ไปที่มุมมอง
               ผู้น าเชิงกลยุทธ์เป็นหลัก โดยใช้กรณีศึกษา ภาวะผู้น าเชิงกลยุทธ์ของ ลี กวนยู ในการพฒนาประเทศสิงคโปร์
                                                                                        ั
                                        95
                                                                  96
               มาอธิบายจาก ข้อมูล ผลงาน  และเอกสารที่เกี่ยวข้องต่างๆ  ที่แสดงถึงการประสบความส าเร็จของผู้น ามา
               เรียบเรียงองค์ประกอบและลักษณะที่ค้นพบว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร
                       ลักษณะผู้น ำเชิงกลยุทธ์ (Strategic leadership)ตำมแนวคิดของดูบริน (DuBrin)
                       ในทางทฤษฎี ส าหรับการศึกษาภาวะผู้น าเชิงกลยุทธ์เราพบว่ามีทฤษฎีที่น่าสนใจคือ ผู้น าเชิงกลยุทธ์
               (Strategic Leadership)  ผู้น าที่มีความสามารถพเศษ (charismatic leadership) และผู้น าการเปลี่ยนแปลง
                                                         ิ
               (transformational leadership) โดยในที่นี้จะอธิบายลักษณะผู้น ากลยุทธ์ตามแนวคิดของ ดูบริน ผู้น าเชิงกล
                                                                         97
               ยุทธ์ (Strategic leadership) ตามองค์ประกอบของ ดูบริน (DuBrin)   มีหลักการส าคัญ 5 ประการได้แก่ 1)
               ผู้น าเชิงกลยุทธ์เป็นผู้มีความเข้าใจอย่างเป็นระบบในระดับสูง (High-level cognitive activity ) สามารถมอง

               ภาพรวมจากปัจจัยที่มีอยู่ทั้งหมดเพอน ามาก าหนดเป็นกลยุทธ์ได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่จะต้องอาศัยความเข้าใจใน
                                              ื่
               ระดับสูง และสามารถก าหนดวิสัยทัศน์ที่เป็นนามธรรมตลอดจนสามารถแปลงมาเป็นแผนปฏิบัติการได้
               นอกจากนี้ผู้น าเชิงกลยุทธ์ยังเป็นผู้มีความสามารถในการคิดเชิงระบบ (Systems thinking) รวมถึงเป็นผู้มี
               ความสามารถในการรับมือกับการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยทักษะที่จ าเป็นคือ ผู้น าเชิงกล
               ยุทธ์มีลักษณะความสามารถในด้านความคิดความเข้าใจ (Cognitive abilities ) และคือ ผู้น าเชิงกลยุทธ์มี

               ลักษณะแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Creative problem solving 2) ผู้น าเชิงกลยุทธ์สามารถน าปัจจัยต่างๆมา
               ก าหนดกลยุทธ์ได้ (Gathering multiple inputs to formulate strategy) ผู้น าเชิงกลยุทธ์จะท างานใน
                                       ื่
               ลักษณะเป็นประชาธิปไตยเพอปรึกษาหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้องหลายๆฝ่าย เพอน าปัจจัยต่างๆมาก าหนดเป็นกล
                                                                             ื่
               ยุทธ์ของหน่วยงาน หรือก าหนดทิศทางของหน่วยงานในอนาคตอย่างมีเหตุผล โดยมีความจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยง
                        ิ่
                                                                     ื้
                                                                                                    ิ่
               วิธีการที่เพมขึ้นอย่างที่ละน้อย (Incrementalism) หรือการใช้พนฐานของสถานการณ์เก่าในอดีตมาเพมหรือ
               ลดจึงควรใช้ข้อมูลที่ทันต่อเหตุการณ์แทน  3) ผู้น าเชิงกลยุทธ์มีความคาดหวังและสร้างโอกาสส าหรับอนาคต
               (Anticipating and creating a future) ผู้น าเชิงกลยุทธ์เป็นผู้มีทักษะในการคาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
               ได้อย่างปรุโปร่ง อาทิ รสนิยมของผู้รับบริการ จ านวนผู้รับบริการในอนาคต เทคโนโลยีที่เหมาะสมที่ควร
               น ามาใช้ รวมถึงความสามารถในการคาดการณ์ทักษะต่างๆที่จ าเป็นส าหรับสิ่งที่หน่วยงานจะต้องเผชิญใน
                                                                    ื่
               อนาคต 4) ผู้น าเชิงกลยุทธ์ มีการใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค์เพอการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ (Revolutionary
               thinking) ผู้น าเชิงกลยุทธ์เป็นผู้มีทักษะในการคิดเชิงปฏิวัติโดยการใช้ความคิดสร้างสรรค์เปลี่ยนแปลงทั้งระบบ




               95  ดูเพิ่มเติมได้ใน วราภรณ์  จุลปานนท์. (2554). การปกครองและการพัฒนาประเทศสิงคโปร์. วารสารวิจัยรามค าแหง (มนุษยศาสตร์และ
               สังคมศาสตร์), 14(1) และ พัชรา วาณิชวศิน (2560) การพัฒนาภาวะผู้น า จากทฤษฎีสู่แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษา ส านักพิม์ปัญญาชน
               96  ดูเพิ่มเติมได้ใน เทิร์นบูล, แมรี่ ซี. (2540). ประวัติศาสตร์มาเลเซีย สิงคโปร์ และบรูไน (ทองสุก  เกตุโรจน์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ
               97  ดูเพิ่มเติมได้ใน DuBrin J. Andrew. (1998) Leadership Research Findings, Practice, and Skills, Houghton Mifflin Company,
               p.344
                                                                                                     375
   372   373   374   375   376   377   378   379   380   381   382