Page 381 - thaipaat_Stou_2563
P. 381

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               วัฒนธรรมต่าง ๆ ที่หลากหลายในสังคม  ส าหรับในด้านสิ่งแวดล้อมสิงคโปร์ คือ เมืองที่มีความหนาแน่นของ
                                                                           101
                 ื้
               พนที่สีเขียวมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากนโยบาย Garden City   ในปี ค.ศ. 1972 สิงคโปร์ออก
                                                                                                ุ
               พระราชบัญญัติสวนสาธารณะและต้นไม้ เพอให้เกิดความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรรมทั้งจากภาคอตสาหกรรม
                                                    ื่
               หน่วยงานเอกชน และประชาชน ในการจัดสรรพื้นที่ส าหรับต้นไม้ในทุกโครงการของทุกภาคส่วน และต่อมาใน
               ปี ค.ศ. 1975 ได้ก่อตั้งหน่วยงานด้านสวนสาธารณะสร้างความยั่งยืนและจิตส านึกร่วมกัน การปลูกต้นไม้ของ
               สิงคโปร์เน้นให้ ‘คน’ และ ‘ต้นไม้’ ได้อยู่อาศัยร่วมกันอย่างกลมกลืน คนต้องได้ใช้ประโยชน์จากการมีพนที่สี
                                                                                                     ื้
                                                                         ิ่
               เขียวอย่างเต็มศักยภาพ โดยในปี 2017 สิงคโปร์มีสวนสาธารณะเพมขึ้นเป็น 350 แห่ง และได้รับการจัด
               อันดับจาก Sensable Lab ของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเส็ทส์ (MIT) และ World Economic Forum (WEF)
               ให้เป็นเมืองที่มีความหนาแน่นของพื้นที่สีเขียวมากที่สุดในโลก
                       ประกำรที่หก  ลี กวนยู สร้ำงผู้น ำที่มีประสิทธิภำพและกำรสร้ำงหลักกำรสนับสนุน

                       ลี กวนยูให้ความส าคัญกับการสร้างผู้น า (Leadership) ให้เกิดขึ้นในทุกระดับในประเทศสิงคโปร์ การ
               ที่สิงคโปร์มีผู้น าที่มีประสิทธิภาพ มีคณะรัฐมนตรีที่มีคุณภาพ และมีระบบราชการที่ดีเป็นปัจจัยที่น าไปสู่การ
               สร้างชาติที่สมบูรณ์ โดยการสร้างผู้น าและการสร้างชาติที่ประสบความส าเร็จมีหลักการสนับสนุนที่ส าคัญ 4
                       102
               ประการ  ได้แก่ 1) หลักคุณธรรมนิยม (Meritocracy) คือ ความสามารถหรือผลงานของบุคคลเป็น
               ตัวก าหนด ฐานะทางสังคมและทางอาชีพของแต่ละบุคคลนั้น โดยไม่ได้ก าหนดหรือได้มาจากอทธิพลทาง
                                                                                                ิ
               เศรษฐกิจหรือ การเมืองของเชื้อชาติ ชนชั้น หรือตระกูล จึงถือว่าเป็นวิธีการที่ยุติธรรม  2) หลักปฏิบัตินิยม
               (Pragmatism)  คือ การเลือกและการด าเนินนโยบายหรือแนวทาง ที่สามารถปฏิบัติได้ มีประโยชน์

               สมเหตุสมผล ปฏิบัติง่าย และสะดวก โดยค านึงถึงการปฏิบัติจริงมากกว่า หลักทฤษฎี 3) หลักความก้าวหน้า
               นิยม (Progressivism) คือ การสนับสนุนให้บุคคลและสังคมต้องก้าวไป ข้างหน้าอยู่ตลอดเวลา มีจิตใจที่
               ก้าวหน้า มีความปรารถนาที่จะปรับปรุงตนเองเสมอ และมีจุดมุ่งหมาย ที่จะต้องบรรลุความส าเร็จ และ 4)หลัก
               พหุนิยมทางวัฒนธรรม (Multiculturalism) คือ การเคารพและยอมรับกลุ่มเชื้อชาติ และวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่
               หลากหลายในสังคมว่ามีความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย

                           ิ
                                                                               ั
                       ด้วยอทธิพลของผู้น าอย่าง ลี กวนยู ส่งต่อผู้น าจากรุ่นสู่รุ่น และการพฒนาประเทศอย่างมียุทธศาสตร์
               ท าให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางทางการค้าที่ส าคัญ ซึ่งไม่ได้เป็นศูนย์กลางทางกายภาพ (Physical Hub) เท่านั้นแต่
               สิงคโปร์จะต้องเป็นศูนย์กลางทางการค้า (Virtual Hub) ที่มีศักยภาพในการควบคุมทางการค้าได้อกด้วย ท าให้
                                                                                                ี
               ปัจจุบันสิงคโปร์เป็นศูนย์กลางที่ส าคัญในหลายๆด้าน ได้แก่ ศูนย์กลางสู่เอเชีย - แปซิฟิก ศูนย์กลางการค้าและ
               บริการของภูมิภาค ศูนย์กลางการเดินเรือพาณิชย์ ศูนย์กลางการเงินของภูมิภาค ศูนย์กลางการบินพาณิชย์
               ศูนย์กลางอตสาหกรรมเทคโนโลยีบ าบัดน้ าเสีย ศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีชีวภาพของโลก ศูนย์กลางการ
                         ุ
                                   103
               กระจายสินค้า เป็นต้น   ในปัจจุบันสิงคโปร์ได้ประกาศนโยบายยุทธศาสตร์เศรษฐกิจของประเทศ มี
                             ั
               เป้าหมายที่จะพฒนาประเทศให้ก้าวไปสู่ “การเป็นประเทศศูนย์กลางของเอเชียที่เป็นผู้น าในระดับโลก (A
               leading global city in the heart of Asia) และล่าสุดสิงคโปร์สามารถพฒนาประเทศได้อย่างน่าอศจรรย์
                                                                                                    ั
                                                                              ั
               โดยใช้เวลาถ 54 ปี จากประเทศที่ต้องแยกตัวจากมาเลเซียไปสู่ประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันเป็น
                                                                ื้
                                                                                       ั
                 ั
                                                                                                    ั
               อนดับหนึ่งของโลก  ซึ่งทั้งหมดเป็นผลมาจากการวางพนฐานและยุทธศาสตร์การพฒนาประเทสอนชาญ
                               104

               101  ดูเพิ่มเติมได้ใน https://becommon.co/feature/singaporegreenery/ค้นคืนเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2562
               102  วราภรณ์  จุลปานนท์. (2554). การปกครองและการพัฒนาประเทศสิงคโปร์. วารสารวิจัยรามค าแหง (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 14(1), 30-37.
               103  ดูเพิ่มเติมได้ใน https://www.softbankthai.com/Article/Detail/915
               104  พิจารณาจากดัชนีความสามารถทางการแข่งขันระดับโลกประจ าปี 2019 (Global Competitiveness Index : GCI) ซึ่งเป็นรายงานจาก
               “World Economic Forum” บ่งชี้ขีดความสามารถในการแข่งขันของ 141 ประเทศ สิงคโปร์อยู่อันดับที่ 1 ประเทศที่มีความสามารถในการ
               แข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก ขณะที่ประเทศไทยอยู่ที่อันดับ 40 ของโลก
                                                                                                     379
   376   377   378   379   380   381   382   383   384   385   386