Page 379 - thaipaat_Stou_2563
P. 379
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
98
เพื่อให้เป็นพื้นฐานในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ลี กวนยู กลับสามารถเป็นผู้น าการ
เปลี่ยนแปลงและผู้น าเชิงยุทธศาสตร์ที่สามารถพลิกประเทศสิงคโปร์ให้มาเป็นประเทศชั้นน าของโลก ภายใต้
การเป็นผู้น าประเทศตลอดระยะเวลารวม 31 ปี (พ.ศ.2502-2533) ซึ่งถือเป็นผู้วางรากฐานและเสาหลัก
ของการพัฒนาประเทศสิงคโปร์ที่ส าคัญ
ลักษณะภำวะผู้น ำเชิงกลยุทธ์ของ ลี กวนยู ในกำรพัฒนำประเทศสิงคโปร์
ประกำรแรก ลี กวนยู เป็นผู้มีควำมสำมำรถพิเศษ
ลี กวน ยู มีลักษณะเป็นผู้มีความสามารถพเศษ สามารถจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชากระท าตามและเป็น
ิ
คนที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง มีความคิด เด็ดขาด พูดจาโผงผางหนักแน่น เป็นนักคิดที่สามารถวิเคราะห์
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ และเป็นบุคคลที่ฉลาดล้ าลึกและมีศิลปะในการชนะมิตรผูกใจ
คน ซึ่งรวมทั้งการชนะใจผู้น าจีนด้วย โดยลีกวนยู เป็นผู้น าคนเดียวในโลกที่เห็นราศีเจิดจรัสของจีนมาตั้งแต่ยุค
เริ่มต้นเปิดประเทศของผู้น าเติ้งเสี่ยวผิง เมื่อกว่า 30 ปีก่อน อีกทั้งมีบันทึกที่แสดงถึงการยืนยันอย่างเชื่อมั่นว่า
เติ้งเสี่ยวผิงจะเป็นผู้พลิกชะตากรรมของจีนส าเร็จ และจีนจะก้าวขึ้นเป็นมหาอานาจมีอทธิพลต่อโลกในภาย
ิ
หน้าซึ่งก าลังเป็นที่ประจักษ์ชัดในปัจจุบันนี้ภายใต้การบริหารประเทศสิงคโปร์ด้วยวิสัยทัศน์หยั่งเห็นอนาคตโลก
เช่นนี้ สิงคโปร์จึงเป็นประเทศที่สามารถวางตัวได้อย่างสมดุล ผูกสัมพนธ์กับมหาอานาจโลกทั้งสองขั้ว ระหว่าง
ั
99
้
จีนและสหรัฐฯ ได้อย่างแน่นแฟน รวมถึงสามารถสร้างเอกลักษณ์ของชาติและรวมชาติได้ ซึ่งประกอบด้วย
ิ
คนจีน (จ านวนร้อยละ 75 ของประชากรทั้งหมด) คนมาเลย์ (ร้อยละ 15) คนอนเดีย (ร้อยละ 7) และกลุ่ม
100
ชาติพันธุ์อื่นๆ (ร้อยละ 3) ซึ่งวิธีการปลูกฝังค่านิยมร่วมนี้ถือเป็นกระบวนการสร้างความเป็นพลเมือง ของ
สิงคโปร์ให้เกิดขึ้นจากการสร้างส านึกของความเป็นชาติที่มีร่วมกัน โดยการรณรงค์เรื่องความสามัคคี ความ
ื้
เป็นหนึ่งเดียวกัน และความมั่นคงของรัฐ ซึ่งเป็นพนฐานในการสร้างชาติ มีสาระส าคัญ 5 ประการ ได้แก่ 1)
ชาติส าคัญกว่าชุมชน และสังคมส าคัญกว่าปัจเจกบุคคล ซึ่งเป็นการเชิดชูความเป็นชาติเหนือกว่าปัจเจกบุคคล
2) ครอบครัวเป็นหน่วยพื้นฐานของสังคม ดังนั้นสถาบันครอบครัวจึงเป็นรากฐานที่แท้จริงของสังคม 3) การให้
การสนับสนุน ช่วยเหลือกันในชุมชน และเคารพต่อปัจเจกบุคคลเป็นการสนับสนุน จารีตประเพณีที่ให้ผู้น้อย
เคารพผู้ใหญ่ 4) การส่งเสริมฉันทามติแต่ไม่สร้างความขัดแย้ง แสดงให้เห็นว่าการตัดสินใจใด ๆ ก็ตามควรเน้น
้
การเห็นพองต้องกันมากกว่าการแข่งขันและการถกเถียงกัน และ 5) ส่งเสริมและประสานความกลมกลืนด้าน
เชื้อชาติและศาสนา
ประกำรที่สอง ลี กวนยู เป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้ำงไกล
ลี กวนยู ได้ใช้ความเป็นผู้น าที่มีวิสัยทัศน์ของเขาในการบริหารและพัฒนาประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
และอย่างต่อเนื่องจนประเทศเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยสามารถวิเคราะห์ต าแหน่งของสิงค์โปร์ได้ถูกต้อง
ั
ั
พฒนาไปสู่ต าแหน่งที่ต้องการจะเป็นได้ (การเป็นผู้น าในการพฒนาในทุกๆด้าน) การพฒนาประเทศอย่างมี
ั
ุ
ั
ยุทธศาสตร์นั้นเริ่มด้วยการตั้งเป้าหมายเป็นประเทศอตสาหกรรมใหม่ (NIC) โดยด าเนินยุทธศาสตร์การพฒนา
ื่
อตสาหกรรมเพอการส่งออก (Export-oriented Industrialization) ก่อนประเทศอนๆ ในอาเซียน หลังจาก
ื่
ุ
นั้นสิงคโปร์ได้ปรับยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากการลงทุน (Investment-driven Economy) ซึ่ง
อาศัยนโยบายหลักในการสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการด าเนินธุรกิจ โดยเฉพาะอย่าง
98 ดูเพิ่มใน เทิร์นบูล, แมรี่ ซี. (2540). ประวัติศาสตร์มาเลเซีย สิงคโปร์ และบรูไน (ทองสุก เกตุโรจน์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ หน้า 447 -
452
99 ดูเพิ่มเติมได้ใน เกรียงไกร พรพิพัฒน์กุล https://mgronline.com/china/detail/9580000035932 ค้นคืนเมื่อ 24 พฤศิกายน 2562
100 เชษฐา พวงหัตถ์. (2552). เศรษฐกิจการเมืองทุนนิยม “แบบขงจื้อ” กับการพัฒนาของประเทศอุตสาหกรรม ใหม่ในเอเชีย : การวิเคราะห์เชิง
เปรียบเทียบ. วารสารร่มพฤกษ์, 27 (3), 131 – 175.
377